เมื่อเอ่ยถึง Learning Organization หลายคนจะนึกถึงหนังสือที่ชื่อว่า “The Fifth Discipline” ของ Peter M. Senge ซึ่งพูดถึงวินัยทั้ง 5 ประการ ขององค์กรแห่งการเรียนรู้ ได้แก่ Personal Mastery Mental Models Shared Vision Team Learning Systems
Tag: Problem Solving
เลือกหัวข้อปัญหาอย่างไรให้โดนใจนาย ? คงเป็นเรื่องหนึ่งที่ลูกน้องหลาย ๆ คน คิดตั้งคำถามกับตัวเองเสมอในเวลาที่โดนเจ้านายถามว่า “ปีนี้มีแผนปรับปรุงอะไรที่จะทำให้งานดีขึ้น ?” เทคนิคง่าย ๆ ในการเลือกหัวข้อปัญหาให้โดนใจนาย มีดังนี้ รวบรวมปัญหาจากหลาย ๆ แหล่ง เช่น เสียงจากลูกค้าที่พร่ำบ่นอยู่ตลอด ไม่ว่าจะเป็นลูกค้าภายนอก และลูกค้าภายในเอง (คำว่า “ลูกค้าภายใน” หมายถึง หน่วยงานที่เราต้องส่งมอบงานหรือบริการให้), หรือจะมาจากนโยบาย KPIs
การวิเคราะห์ และตัดสินใจทางธุรกิจที่สำคัญ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องฉายภาพที่เป็นไปได้ต่าง ๆ ออกมาให้เห็นอย่างเด่นชัด เพื่อการตัดสินใจที่ถูกต้องและแม่นยำ ซึ่งหนึ่งในเครื่องมือที่นิยมใช้ คือ Scenario Analysis ขั้นตอนในการทำ Scenario Analysis จะเริ่มต้นจาก การรวบรวมข้อมูลของปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ พิจารณาถึงความแน่นอน ความไม่แน่นอน และแนวโน้ม ของแต่ละปัจจัย สร้างแบบจำลองสถานการณ์ ในกรณีต่าง ๆ ที่เป็นไปได้
Benchmarking คือ กระบวนการในการเทียบเคียงความสามารถในด้านต่าง ๆ เทียบกับคู่แข่ง ซึ่งบริษัท Xerox ผู้ผลิตเครื่องถ่ายเอกสารชั้นนำของโลก ได้นำวิธีการ Benchmarking นี้มาใช้ในช่วงปี 1980 เพื่อปรับปรุงความสามารถในการแข่งขันของตนเอง เนื่องจากบริษัท Xerox ประสบปัญหาด้านการตลาดอย่างรุนแรง สูญเสียความสามารถในการแข่งขันให้กับบริษัทคู่แข่งจากประเทศญี่ปุ่นที่เข้ามาตีตลาดด้วยราคาสินค้าที่ต่ำกว่า และคุณภาพที่ดีกว่า กระบวนการทำ Benchmarking คือ การวัด และเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ บริการ และวิธีการปฏิบัติงานกับองค์กรที่ดีกว่า
รูปที่ 1 การตั้งเป้าหมายด้วยมุมมอง Think from Right Hand Side การตั้งเป้าหมาย คือ หนึ่งในกระบวนการของการวางแผน หรือในกระบวนการแก้ไขปัญหา (ดังแสดงในรูปที่ 2) ที่เราต้องรู้ให้แน่ชัดเสียก่อนว่าเป้าหมายที่เราต้องการอยู่ที่ระดับใด ? รูปที่ 2 วงจรการแก้ปัญหาแบบ Systems Problem Solving ซึ่งโดยทั่วไปแล้วที่เรานิยมตั้งเป้าหมายกันนั้นจะใช้มุมมอง Think from
ทุกคนล้วนย่อมเผชิญกับปัญหา แต่บางครั้งก็ติดขัดไม่รู้จะเริ่มต้นยังไง ในวันนี้อยากจะขอนำเสนอมุมมองความคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) ขั้นพื้นฐาน ในการนำมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา โดยเริ่มต้นที่ Step 1 – Problem ต้องรู้ให้แน่ชัดเสียก่อนว่าปัญหาของเรา คือ อะไร ? ซึ่งเราจะรู้ได้จาก 1.1 Actual Performance สิ่งที่ทำได้จริง ทำได้อยู่ที่เท่าไหร่ 1.2 Target สิ่งที่เราต้องการได้
(บทความนี้ตีพิมพ์ลงใน นสพ.กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันอาทิตย์ที่ 12 กรกฎาคม 2558) “ปัญหาทุกปัญหาย่อมมีทางออก” “ทางออกของปัญหา อันหมายถึง เส้นทางที่จะนำเราไปสู่สิ่งที่แตกต่างไปจากเดิม ซึ่งแน่นอนว่าสิ่งที่แตกต่างนั้นย่อมต้องดีกว่าเดิม” ในประสบการณ์ของผู้เขียนในการทำหน้าที่ “ที่ปรึกษา (Consultant)” ให้กับบริษัทต่าง ๆ ในเรื่องของการแก้ปัญหา พัฒนาปรับปรุงงานนั้น พบว่ามี “หลุมพราง” ที่มาคอยสกัดกั้นขวางเส้นทางสู่ “ทางออกของปัญหา” อยู่ด้วยกัน 2 หลุมพรางใหญ่
“ทักษะการคิด เพื่อแก้ปัญหา” “ครู ครู โจทย์เลขข้อนี้ทำอย่างไงค่ะ ?” เสียงเด็กผู้หญิงคนหนึ่งร้องเรียกขึ้น เด็กผู้หญิงคนนี้ เธอเป็นลูกสาวของเจ้าของอู่ซ่อมรถข้างร้านกาแฟของผู้เขียน มักจะแวะเวียนเข้ามานั่งที่ร้าน และคอยช่วยเหลืองานเล็ก ๆ น้อยตามที่เธอจะช่วยได้ เช่น เสิร์ฟน้ำ เก็บแก้ว เช็ดโต๊ะ ปัจจุบันเธอเรียนอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่โรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่ง “อ้าว ลองอ่านโจทย์ให้ฟังหน่อยซิ ว่าเขียนไว้อย่างไร” ผู้เขียนกล่าวตอบไป “รถยนต์คันหนึ่งราคา
(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ 23/11/2557) ในชีวิตของทุกคนไม่ว่าผู้ใหญ่ หรือเด็ก ล้วนแต่ต้องเผชิญหน้ากับปัญหาต่างต่างนานา ไม่ว่าจะเล็กหรือว่าใหญ่ เพียงแต่ใครจะมองว่าสิ่งนั้นเป็นอุปสรรคที่ขวางกั้น หรือเป็นสิ่งนั้นเป็นความท้าทายที่ทำให้เราเติบโตทางปัญญา แท้ที่จริงแล้วประเภทของปัญหา สามารถจำแนกได้ 2 ประเภท Standard Problem คือ ความแตกต่างระหว่าง “สิ่งที่เป็นอยู่” กับ “สิ่งที่ควรจะเป็น” Challenge
(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ 23/11/2557) ในชีวิตของทุกคนไม่ว่าผู้ใหญ่ หรือเด็ก ล้วนแต่ต้องเผชิญหน้ากับปัญหาต่างต่างนานา ไม่ว่าจะเล็กหรือว่าใหญ่ เพียงแต่ใครจะมองว่าสิ่งนั้นเป็นอุปสรรคที่ขวางกั้น หรือเป็นสิ่งนั้นเป็นความท้าทายที่ทำให้เราเติบโตทางปัญญา แท้ที่จริงแล้วประเภทของปัญหา สามารถจำแนกได้ 2 ประเภท Standard Problem คือ ความแตกต่างระหว่าง “สิ่งที่เป็นอยู่” กับ “สิ่งที่ควรจะเป็น” Challenge