สรุปเนื้อหาสาระสำคัญในหลักสูตร “Problem Solving and Decision Making” ของอาจารย์บุญเลิศ คณาธนสาร
Tag: Problem Solving
การแก้ปัญหาและตัดสินใจ ในโลกแห่งการแข่งขันในทางธุรกิจ เราพัฒนาทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ (Systems Thinking) เพื่อรับมือกับสถานการณ์ต่าง ๆ มากมายที่ต้องเผชิญ ไม่ว่าจะเป็น “สถานการณ์ที่ต้องแก้ปัญหาให้ตรงจุด” และ “สถานการณ์ที่ต้องตัดสินใจอย่างถูกต้อง”
ในยุคสมัยที่เวลาเป็นเงินเป็นทอง งานทุกอย่างเร่งรีบ จะนำเสนอหรือสื่อสารแต่ละครั้งก็ควรให้ง่ายและรวดเร็ว วันนี้เรามี เทคนิค การนําเสนองาน ที่จะทำให้คุณไม่ต้องเสียเวลาทำความเข้าใจ นั่นก็คือ เทคนิค Single Page Note Taking ซึ่งเป็นแนวคิดของบริษัทรถยนต์โตโยต้า โดยการที่จะนำข้อมูลที่มีอยู่มากมายมาย่อยให้น้อยแต่เข้าใจง่ายได้ เราก็จะทำกันผ่านวิธีการ 4 ขั้นตอนนี้… 1. Eliminate (E) ตัดข้อมูลที่ไม่จำเป็นออก 2. Combine (C)
ปัญหาหนึ่งของวงการ HR ก็คือ เราจะสามารถหา ” คน ทำงาน ที่ใช่ ” ที่ตรงตามความต้องการขององค์กรได้อย่างไร วันนี้เรามี Trick for HR มาบอกต่อ กับ 8 ขั้นตอน การหา คนที่ใช่ ให้องค์กร 1. ขั้นค้นหาคน กำหนดสเปกให้ชัดเจน ไม่กว้างหรือแคบเกินไป
ความตั้งใจเดิมในวันนี้นั้น อยากที่เขียนวิเคราะห์เชื่อมโยงการวิเคราะห์เรื่องราวที่เกิดขึ้นในกรณีที่เป็นข่าวที่โด่งดังเรื่องหนึ่ง คือ ข่าวของรองอธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญาขโมยภาพจากโรงแรมแห่งหนึ่ง ล่าสุดก่อนผมลงมือเขียนบทความนี้ท่านรองอธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญา คุณสุภัฒ สงวนดีกุล ก็ออกหนังสือชี้แจงเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และขอยอมรับผิดด้วยการลาออกจากตำแหน่ง แต่ในประเด็นที่ผมจะนำมาวิเคราะห์เกี่ยวกับข่าวนี้ เพื่อใช้เป็น Case Study เชื่อมโยงกับหลักการวิเคราะห์ปัญหา IS / IS NOT อันโด่งดังของสองคู่หู Kepner-Tregoe เมื่อเกิดข่าวนี้ขึ้นปรากฎว่า ทางการไทยได้เข้าไปให้ความช่วยเหลือทุกอย่างเพื่อให้รองอธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญาพ้นจากการลงโทษตามกฎหมายของรัฐบาลญี่ปุ่น พร้อมทั้งมีเนติบริกรที่เป็นกุนซือของรัฐบาลนี้ออกมาปกป้องการกระทำผิดในครั้งนี้ ทำให้ผมลองไปค้นหาดูว่าเคยมีเหตุการณ์ลักษณะเดียวกันนี้เกิดขึ้นหรือเปล่า ก็ไปพบข่าวชิ้นหนึ่งของสำนักข่าว
“ยิ้มไม่ออก กับ Thai Smile” วันนี้เป็นครั้งแรกที่ผมเดินทางกับสายการบิน Thai Smile และเป็นครั้งแรกที่ผมจะจำไว้ไม่มีวันลืม ผมต้องเดินทางไปเชียงใหม่ เพื่อไปบรรยายในวันที่ 26-27/01/2560 ที่บริษัท ช้าฟเนอร์ อีเอ็มซี จำกัด ผมเลยวางแผนเดินทางล่วงหน้าก่อน 1 วัน เพื่อจะได้พักผ่อนให้เต็มที่ เตรียมพร้อมให้เต็มที่กับการบรรยาย ผมเดินทางไปถึงสนามบินสุวรรณภูมิเวลา 12:15 น. เครื่องบินตามกำหนดการไฟล์ท WE182
Why-Why Analysis คือ เครื่องมือหนึ่งที่ใช้ในการวิเคราะห์สาเหตุรากเหง้าของปัญหา แต่มักมีคำถามบ่อย ๆ ว่าเทคนิคการวิเคราะห์ด้วย Why-Why นั้น เหมาะกับปัญหาประเภทใด ? ก่อนอื่นเราต้องทำความเข้าใจ Pattern ของปัญหาก่อนว่าสามารถแบ่งได้หลัก ๆ 2 ประเภท คือ ปัญหาเรื้อรั้ง (Chronic Problem) ปัญหาครั้งคราว (Sporadic Problem) การวิเคราะห์ด้วย
D1 – Establish the team จัดตั้งทีมที่ประกอบไปด้วยคนที่มีความรู้ในผลิตภัณฑ์ และกระบวนการนั้น ๆ D2 – Describe the Problem ระบุปัญหาให้ชัดเจนโดยใช้เทคนิคการตั้งคำถาม 5W2H ว่า ใคร (who) ทำอะไร (what) ที่ไหน (where) เมื่อไหร่ (when) ทำไม
หากพูดถึงคำว่าเป้าหมาย หลาย ๆ คนคงคิดถึงเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องส่วนตัว หรือในเรื่องงาน เป้าหมายนั้นอาจมีที่มาที่แตกต่างกันออกไป บางส่วนมาจากที่คนอื่นกำหนดให้ บางส่วนเราอาจจะต้องเป็นคนกำหนดเป้าหมายขึ้นมาเอง เมื่อมีค่าเป้าหมายตั้งไว้ ก็ต้องนำมาเปรียบเทียบกับค่าปัจจุบันที่เป็นอยู่ ก็จะเห็นช่องว่างระหว่างค่าเป้าหมายกับค่าปัจจุบัน นั่นคือสิ่งที่เป็นปัญหา (Problem) ที่เราต้องขจัดให้หมดไป หรือมองในอีกมุมหนึ่งมันคือความท้าทาย (Challenge) ที่เราต้องก้าวไปให้ถึง ดังนั้นเป้าหมายจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะเป็นตัวขับเคลื่อนให้เกิดการแข่งขัน และการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ลองนึกภาพดูสิครับถ้าการแข่งขันกีฬาประเภทต่าง ๆ อย่างเช่น การแข่งขันวิ่ง 100
เหตุใดความคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) จึงมีความสำคัญ ? ก็เพราะสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเรา รวมไปถึงตัวเราเองด้วยนั้น ล้วนมีความสัมพันธ์โยงใยที่เกี่ยวเนื่องกัน เพื่อให้เกิดความเข้าใจในเรื่องความคิดเชิงระบบมากขึ้น เราต้องเข้าใจเสียก่อนว่า “ระบบ คือ อะไร ?” และ “ความคิด คือ อะไร ?” ตัวอย่างระบบที่เราสามารถมองเห็นได้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่ ระบบร่างกาย (Body