(ภาษาไทย กรุณาเลื่อนลงด้านล่าง) Just sit by the stream of your mind. Don’t do anything; nothing is expected from you. You just keep quiet, calm, as if
Tag: OSHO
(ภาษาไทย กรุณาเลื่อนลงด้านล่าง) The last words of Gautama the Buddha on the earth were: “Be a light unto yourself.” Do not follow others, do not imitate,
ปล่อย – OSHO : พลังแห่งการให้อภัยซ่อนอยู่ในความโกรธ การสำนึกผิด หมายถึง การตระหนักรู้ย้อนหลัง การสำนึกผิด หมายถึง การมองย้อนกลับไป การสำนึกผิดที่แท้จริง คือ การจดจำ การเข้าสู่รายละเอียดโดยตระหนักรู้ อย่างสมบูรณ์ถึงสิ่งที่เกิดขึ้น การสำนึกผิด คือ ? การสำนึกผิดหมายถึงการตระหนักรู้ย้อนหลัง การสำนึกผิดหมายถึงการมองย้อนกลับไป ท่านพลาดความตระหนักรู้ในชั่วขณะนั้น ท่านเต็มไปด้วยความไม่รู้ตัว ตอนนี้เรื่องราวสงบลงแล้ว ท่านสามารถนำความตระหนักรู้
เต๋า – มรรควิถีที่ไร้เส้นทาง OSHO เส้นทางแห่งการแสวงหา “…แน่นอนอิสรภาพนั้นเป็นสิ่งอันตราย มันทำให้ท่านรู้สึกไม่มั่นคง ไม่ปลอดภัย ท่านอาจจะรู้สึกปลอดภัยกว่าถ้าได้เดินตามฝูงชน ฝูงชนจะช่วยปกป้องท่าน ท่านรู้สึกปลอดภัยเมื่อท่านทำตามฝูงชน เพราะว่าการปรากฎตัวของคนหมู่มากทำให้ท่านรู้สึกว่าท่านไม่ได้อยู่ตามลำพัง และท่านไม่หลงทางอย่างแน่นอน ความมั่นคงที่ว่านี้แท้จริงแล้วมันได้ทำให้ท่านหลงทางไปแล้ว เพราะความมั่นคงทำให้ท่านไม่ต้องคิดจะค้นหา เมื่อท่านไม่ค้นหา ท่านก็ไม่เคยคิดจะถามหา และความจริงก็เลยไม่มาปรากฏ เว้นเสียแต่ว่าท่านจะถามหา เว้นเสียแต่ว่าท่านจะถามหาด้วยตัวของท่านเอง หากท่านเอาแต่หยิบยืมความจริงของคนอื่นมาใช้ ท่านก็ได้ชื่อว่าเป็นผู้ทรงความรู้ แต่การเป็นผู้ทรงความรู้นั้นมิใช่การรู้ที่เป็นของท่านเอง…” คนที่ทวนกระแส,คนที่ตอบโต้ และคนส่วนใหญ่
OSHO Active Meditation หนทางใหม่แห่งการภาวนา
ช่วงเวลาต้นปีอาจจะเป็นช่วงเวลาที่ใครหลาย ๆ คน ที่ยังทำงานประจำอยู่ เมื่อได้รับโบนัส ได้รับการปรับเงินเดือน อาจจะได้รับการโปรโมทหรือไม่ก็ตาม ? หลายคนคงคิดทบทวนกับตัวเองอยู่ว่าจะฝากอนาคตตัวเองไว้กับองค์กรนี้อีกหรือไม่ ? วันนี้ผมมีบางส่วนในหนังสือของ OSHO ที่ชื่อว่า “เด็ดเดี่ยว” มาถ่ายทอดให้ได้ขบคิดกัน “โดยพื้นฐานแล้ว ความกล้าหาญคือการเสี่ยง เสี่ยงจากสิ่งที่รู้จักไปยังสิ่งที่ไม่รู้จัก จากสิ่งที่คุ้นเคยไปยังสิ่งที่ไม่คุ้นเคย จากความสะดวกสบายไปยังความไม่สะดวกสบาย จากการเดินทางอย่างมีเป้าหมายไปสู่การเดินทางอย่างไร้จุดหมาย โดยที่ไม่รู้เลยว่าจะสามารถทำสำเร็จหรือไม่ มันไม่ต่างอะไรจากการเดิมพัน แต่เพราะการเดิมพันครั้งนี้เท่านั้นที่จะทำให้ท่านรู้ว่าชีวิตคืออะไร” “จงจำไว้ว่าความกล้าหาญไม่ได้แปลว่าไม่มีความกลัว
เนื่องในวันครู อยากหยิบหนังสือที่ชื่อ “คุรุวิพากษ์คุรุ” ของ OSHO มาเป็นมุมมองหนึ่งที่สะท้อนความแตกต่างทางบริบทกับที่เป็นอยู่ในสังคมไทยที่การวิพากษ์วิจารณ์ครู อาจารย์ เป็นสิ่งที่ยังไม่เปิดกว้างเท่าไหร่ OSHO มีความกล้าหาญมากในการหยิบยกศาสดา และนักปราชญ์ต่าง ๆ ที่มีชื่อเสียง มีสาวกที่ศรัทธาอย่างมั่นคง เช่น พระพุทธเจ้า, พระเยซู, คาริล ยิบราน, กฤษณะมูรติ ฯลฯ มาวิพากษ์วิจารณ์ในแก่นธรรมอย่างตรงไปตรงมา สิ่งที่ OSHO สะท้อนให้เราเห็นนั้น
วันนี้เป็นวันแรกที่ได้มาเรียนในหลักสูตร 3 วันในหลักสูตร “ภาวะการนำเพื่อการข้ามพ้น (Leadership for Transcendence)” ที่ สสส. ซอยงามดูพลี ประเด็นที่ถูกหยิบขึ้นมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ใน Class ในวันนี้ คือ หัวข้อเรื่อง Intuition ซึ่งมีคำเรียกเป็นภาษาไทยว่า “ญาณทัศนะ” หรืออาจจะใช้คำว่า “ปัญญาญาณ” แต่จะใช้คำอะไรคงไม่สำคัญไปกว่าการทำความเข้าใจกับมัน หากจะลองถามกับตัวเองว่าเรามี “Intuition” หรือไม่ ?
บุรุษนามว่า OSHO “OSHO” นักปรัชญาร่วมสมัยชาวอินเดีย แม้บุรุษผู้นี้จะล่วงลับไปแล้ว แต่คำบรรยายของ “OSHO” ต่อสานุศิษย์ทั้งหลาย ก็ยังคงเป็นเรื่องที่ทันสมัย และเข้าถึงคนรุ่นใหม่ได้ง่าย จนได้มีการถอดเทปการบรรยายของท่านออกเป็นหนังสือซีรีย์ต่าง ๆ จำนวนมากมาย และได้รับการแปลและเผยแพร่ในหลายภาษา รวมถึงภาษาไทยด้วย โดยส่วนใหญ่หนังสือภาษาไทยของ “OSHO” จะถูกจัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์ Freemind ได้แก่ ปัญญาญาณ, อิสรภาพ, วุฒิภาวะ, เชาว์ปัญญา,
(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ 29/12/2556) เมื่อวันก่อนระหว่างที่ผู้เขียนกำลังโดยสารรถไฟฟ้า BTS กลับบ้านนั้น ก็ได้เจอกับครอบครัวหนึ่งบนขบวนรถ สามีเป็นชาวต่างชาติ ภรรยาเป็นคนไทย มีลูกน้อยวัยกำลังซน 1 คน เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก็ปรากฎให้เห็นดังภาพ คือ เจ้าหนูน้อยขึ้นไปปีนป่ายอยู่บนเสาราวจับของรถไฟฟ้า โดยมีคุณพ่อใช้มือประคองอยู่ห่าง ๆ กันไว้ เผื่อกรณีเจ้าหนูน้อยพลัดตกลงมา ผู้เขียนเฝ้าสังเกตการเล่นปีนป่ายขึ้นลง เมื่อค่อย