ทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ ถือเป็นทักษะการคิดพื้นฐานที่สำคัญ และขาดไม่ได้ในการทำงานภายในองค์กรในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับบริหาร (Top Management) จนถึงระดับหน้างาน (Shop Floor) และเกี่ยวข้องกับทุกฝ่ายไม่ว่าจะเป็นฝ่ายวางแผนกลยุทธ์ ฝ่ายการตลาด ฝ่ายผลิต กระทั่งฝ่ายบุคคล หลักคิดของการคิดเชิงวิเคราะห์นั้น เมื่อพิจารณาจากเครื่องมือการคิดวิเคราะห์ต่าง ๆ จะพบว่าเป็นการคิดวิเคราะห์เชื่อมโยงหาความสัมพันธ์ของข้อมูลในมิติต่าง ๆ เพื่อวิเคราะห์หาโอกาสในการพัฒนาและปรับปรุง เช่น การวิเคราะห์กลยุทธ์ธุรกิจด้วย TOWS Matrix โดยวิเคราะห์พิจารณาหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายใน ได้แก่
Tag: Analytical Thinking
Productivity Facilitator ฟันเฟืองสำคัญเพิ่มผลผลิตองค์กร
ในโลกแห่งการแข่งขันทางธุรกิจในยุคปัจจุบัน องค์กรจะต้องมีความสามารถในการตอบสนองความต้องการของลูกค้าทั้งในแง่คุณภาพ (Quality) ระยะเวลาในส่งมอบ (Time) และต้นทุน (Cost) กิจกรรมเพิ่มผลผลิต (Productivity Improvement) นับเป็นกลไกในการขับเคลื่อนที่สำคัญ ซึ่งเกี่ยวข้องกับพนักงานทุกระดับตั้งแต่ระดับบริหาร (Top Management) จนถึงระดับหน้างาน (Shop Floor) ผ่านกิจกรรมปรับปรุงงานต่าง ๆ โดยมีเป้าหมายสูงสุดคือ การตอบสนองความต้องการลูกค้าอันนำมาสู่ผลกำไรขององค์กร นักส่งเสริมกิจกรรมเพิ่มผลผลิต (Productivity Facilitator) ถือเป็นฟันเฟืองสำคัญในการดำเนินกิจกรรมเพิ่มผลผลิตโดยทำหน้าที่กระตุ้น
พัฒนา Soft Skills อย่างมีประสิทธิภาพ ต้นทุนลด กำไรเพิ่ม! ทักษะที่จำเป็นในการทำงานนั้น สามารถจำแนกได้หลักๆ อยู่ 2 ประเภท Hard Skills ได้แก่ ทักษะที่คนทำงานจะต้องมีความรู้ความสามารถที่เกี่ยวข้องกับอาชีพที่เราทำอยู่ ซึ่งเป็นทักษะที่จะเพิ่มพูนความเชี่ยวชาญในอาชีพที่เราทำอยู่ Soft Skills ได้แก่ ทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานทั่วๆ ไป ไม่ได้เจาะจงไปที่อาชีพใดอาชีพหนึ่ง ซึ่งจะทำให้เรามีทักษะในการบริหารงาน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ล่าสุดทาง
นโยบาย “ค่าแรงขั้นต่ำ” ใครช้ำ? ใครได้? นโยบายปรับขึ้น ค่าแรงขั้นต่ำ อีกหนึ่งกลยุทธ์นโยบายหาเสียงที่หลายๆ พรรคงัดออกมาใช้เพื่อดึงคะแนนจากกลุ่มผู้ใช้แรงงาน เราลองไปดูตัวเลขค่าแรงขั้นต่ำกันว่าแต่ละพรรคเสนอปรับขึ้นเท่าไหร่ พรรคสามัญชน 500 บาทต่อวัน พรรคอนาคตใหม่ 450 บาทต่อวัน* (ยังไม่ใช่นโยบายอย่างเป็นทางการของพรรค ถอดความจากคำสัมภาษณ์ของนางสาวพรรณิการ์ วานิช โฆษกพรรคอนาคตใหม่ บนเวทีดีเบต “อนาคตปากท้องคนไทย” 4 มีนาคม 2562) พรรคพลังประชารัฐ
ปัญหาหนึ่งของวงการ HR ก็คือ เราจะสามารถหา ” คน ทำงาน ที่ใช่ ” ที่ตรงตามความต้องการขององค์กรได้อย่างไร วันนี้เรามี Trick for HR มาบอกต่อ กับ 8 ขั้นตอน การหา คนที่ใช่ ให้องค์กร 1. ขั้นค้นหาคน กำหนดสเปกให้ชัดเจน ไม่กว้างหรือแคบเกินไป
ในการสำรวจสภาพการณ์ของการพัฒนาเพื่อออกตัวผลิตภัณฑ์ X ที่เป็นยุทธศาสตร์ในเฟสต่อไปของบริษัทในตลาด 4 ราย คือ บริษัท A, B, C และ D ได้ข้อมูลว่า ถ้าบริษัท A หรือ B อย่างน้อยหนึ่งบริษัททำการพัฒนาอยู่ บริษัท C ก็กำลังพัฒนาด้วยเช่นเดียวกัน ถ้าบริษัท A หรือ C
การวิเคราะห์ และตัดสินใจทางธุรกิจที่สำคัญ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องฉายภาพที่เป็นไปได้ต่าง ๆ ออกมาให้เห็นอย่างเด่นชัด เพื่อการตัดสินใจที่ถูกต้องและแม่นยำ ซึ่งหนึ่งในเครื่องมือที่นิยมใช้ คือ Scenario Analysis ขั้นตอนในการทำ Scenario Analysis จะเริ่มต้นจาก การรวบรวมข้อมูลของปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ พิจารณาถึงความแน่นอน ความไม่แน่นอน และแนวโน้ม ของแต่ละปัจจัย สร้างแบบจำลองสถานการณ์ ในกรณีต่าง ๆ ที่เป็นไปได้
Benchmarking คือ กระบวนการในการเทียบเคียงความสามารถในด้านต่าง ๆ เทียบกับคู่แข่ง ซึ่งบริษัท Xerox ผู้ผลิตเครื่องถ่ายเอกสารชั้นนำของโลก ได้นำวิธีการ Benchmarking นี้มาใช้ในช่วงปี 1980 เพื่อปรับปรุงความสามารถในการแข่งขันของตนเอง เนื่องจากบริษัท Xerox ประสบปัญหาด้านการตลาดอย่างรุนแรง สูญเสียความสามารถในการแข่งขันให้กับบริษัทคู่แข่งจากประเทศญี่ปุ่นที่เข้ามาตีตลาดด้วยราคาสินค้าที่ต่ำกว่า และคุณภาพที่ดีกว่า กระบวนการทำ Benchmarking คือ การวัด และเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ บริการ และวิธีการปฏิบัติงานกับองค์กรที่ดีกว่า
รูปที่ 1 การตั้งเป้าหมายด้วยมุมมอง Think from Right Hand Side การตั้งเป้าหมาย คือ หนึ่งในกระบวนการของการวางแผน หรือในกระบวนการแก้ไขปัญหา (ดังแสดงในรูปที่ 2) ที่เราต้องรู้ให้แน่ชัดเสียก่อนว่าเป้าหมายที่เราต้องการอยู่ที่ระดับใด ? รูปที่ 2 วงจรการแก้ปัญหาแบบ Systems Problem Solving ซึ่งโดยทั่วไปแล้วที่เรานิยมตั้งเป้าหมายกันนั้นจะใช้มุมมอง Think from
เมื่อเริ่มต้นที่จะวิเคราะห์เรื่องใด สิ่งสำคัญเลย ก็คือ ทุกคนในทีมจะต้องมีความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันเสียก่อน การใช้คำพูดเพียงอย่างเดียวในการสื่อสาร ก็อาจจะทำให้ผู้ฟังเข้าใจคลาดเคลื่อนไปได้ เครื่องมืออย่างหนึ่งที่จะช่วยทำให้เราสื่อสารกันเข้าใจถูกต้องตรงกัน ก็คือ การเขียนออกมาเป็นแผนภาพความคิด (Thought Model) ซึ่งแผนภาพความคิดอาจจะมีรูปแบบที่แตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับประเด็นที่เราพูดคุยกันอยู่ เช่น เราอาจจะเลือกใช้ Ansoff Matrix ในการพูดคุยกันในกรณีที่เรากำลังคุยกันในเรื่องกลยุทธ์ด้านการตลาด เราอาจจะเลือกใช้ Five Force Analysis เมื่อเรากำลังวิเคราะห์ภาพการแข่งขันในอุตสาหกรรมที่เราอยู่ เราอาจจะเลือกใช้ Value