“ปัญหา คือ อะไร ?” “อะไร คือ ปัญหา ?” คือ คำถามที่คิดว่าหลาย ๆ คนคงเคยโดนตั้งคำถาม หรือเคยตั้งคำถามนี้กับตัวเอง เวลาที่ประสบพบเจอกับสิ่งที่คิดว่าเป็นปัญหาซึ่งมีทั้งเรื่องส่วนตัว และเรื่องงาน คำตอบที่มักได้ยินจากการตั้งคำถาม “ปัญหา คือ อะไร ?” “อะไร คือ ปัญหา ?” มักจะเป็น
Tag: หลักสูตร Decision Making
Why-Why Analysis คือ เครื่องมือหนึ่งที่ใช้ในการวิเคราะห์สาเหตุรากเหง้าของปัญหา แต่มักมีคำถามบ่อย ๆ ว่าเทคนิคการวิเคราะห์ด้วย Why-Why นั้น เหมาะกับปัญหาประเภทใด ? ก่อนอื่นเราต้องทำความเข้าใจ Pattern ของปัญหาก่อนว่าสามารถแบ่งได้หลัก ๆ 2 ประเภท คือ ปัญหาเรื้อรั้ง (Chronic Problem) ปัญหาครั้งคราว (Sporadic Problem) การวิเคราะห์ด้วย
D1 – Establish the team จัดตั้งทีมที่ประกอบไปด้วยคนที่มีความรู้ในผลิตภัณฑ์ และกระบวนการนั้น ๆ D2 – Describe the Problem ระบุปัญหาให้ชัดเจนโดยใช้เทคนิคการตั้งคำถาม 5W2H ว่า ใคร (who) ทำอะไร (what) ที่ไหน (where) เมื่อไหร่ (when) ทำไม
หากพูดถึงคำว่าเป้าหมาย หลาย ๆ คนคงคิดถึงเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องส่วนตัว หรือในเรื่องงาน เป้าหมายนั้นอาจมีที่มาที่แตกต่างกันออกไป บางส่วนมาจากที่คนอื่นกำหนดให้ บางส่วนเราอาจจะต้องเป็นคนกำหนดเป้าหมายขึ้นมาเอง เมื่อมีค่าเป้าหมายตั้งไว้ ก็ต้องนำมาเปรียบเทียบกับค่าปัจจุบันที่เป็นอยู่ ก็จะเห็นช่องว่างระหว่างค่าเป้าหมายกับค่าปัจจุบัน นั่นคือสิ่งที่เป็นปัญหา (Problem) ที่เราต้องขจัดให้หมดไป หรือมองในอีกมุมหนึ่งมันคือความท้าทาย (Challenge) ที่เราต้องก้าวไปให้ถึง ดังนั้นเป้าหมายจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะเป็นตัวขับเคลื่อนให้เกิดการแข่งขัน และการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ลองนึกภาพดูสิครับถ้าการแข่งขันกีฬาประเภทต่าง ๆ อย่างเช่น การแข่งขันวิ่ง 100
เหตุใดความคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) จึงมีความสำคัญ ? ก็เพราะสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเรา รวมไปถึงตัวเราเองด้วยนั้น ล้วนมีความสัมพันธ์โยงใยที่เกี่ยวเนื่องกัน เพื่อให้เกิดความเข้าใจในเรื่องความคิดเชิงระบบมากขึ้น เราต้องเข้าใจเสียก่อนว่า “ระบบ คือ อะไร ?” และ “ความคิด คือ อะไร ?” ตัวอย่างระบบที่เราสามารถมองเห็นได้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่ ระบบร่างกาย (Body
เมื่อเอ่ยถึง Learning Organization หลายคนจะนึกถึงหนังสือที่ชื่อว่า “The Fifth Discipline” ของ Peter M. Senge ซึ่งพูดถึงวินัยทั้ง 5 ประการ ขององค์กรแห่งการเรียนรู้ ได้แก่ Personal Mastery Mental Models Shared Vision Team Learning Systems
เลือกหัวข้อปัญหาอย่างไรให้โดนใจนาย ? คงเป็นเรื่องหนึ่งที่ลูกน้องหลาย ๆ คน คิดตั้งคำถามกับตัวเองเสมอในเวลาที่โดนเจ้านายถามว่า “ปีนี้มีแผนปรับปรุงอะไรที่จะทำให้งานดีขึ้น ?” เทคนิคง่าย ๆ ในการเลือกหัวข้อปัญหาให้โดนใจนาย มีดังนี้ รวบรวมปัญหาจากหลาย ๆ แหล่ง เช่น เสียงจากลูกค้าที่พร่ำบ่นอยู่ตลอด ไม่ว่าจะเป็นลูกค้าภายนอก และลูกค้าภายในเอง (คำว่า “ลูกค้าภายใน” หมายถึง หน่วยงานที่เราต้องส่งมอบงานหรือบริการให้), หรือจะมาจากนโยบาย KPIs
กรณีสายการบิน “นกแอร์” ที่เมื่อเดือนที่แล้วเกิดเหตุการณ์นักบินประท้วงในวันวาเลนไทน์ ทำให้ต้องยกเลิกเที่ยวบินกะทันหัน ตามมาด้วยข่าวการประกาศแจ้งยกเลิก 20 เที่ยวบิน ในวันที่ 23 ก.พ. 59 ที่ตามมาเพียงแค่สัปดาห์เดียว อะไรเกิดขึ้นกับ “นกแอร์” ? คือสิ่งที่น่านำมาขบคิดอย่างเป็นระบบ ในรายงานข่าวของ นสพ.กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันอาทิตย์ที่ 21 ก.พ. 59 ได้รายงานไว้ว่า “แหล่งข่าวสายการบินนกแอร์ กล่าวถึงสาเหตุที่นกแอร์ประกาศยกเลิกเที่ยวบินในวันที่
การวิเคราะห์ และตัดสินใจทางธุรกิจที่สำคัญ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องฉายภาพที่เป็นไปได้ต่าง ๆ ออกมาให้เห็นอย่างเด่นชัด เพื่อการตัดสินใจที่ถูกต้องและแม่นยำ ซึ่งหนึ่งในเครื่องมือที่นิยมใช้ คือ Scenario Analysis ขั้นตอนในการทำ Scenario Analysis จะเริ่มต้นจาก การรวบรวมข้อมูลของปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ พิจารณาถึงความแน่นอน ความไม่แน่นอน และแนวโน้ม ของแต่ละปัจจัย สร้างแบบจำลองสถานการณ์ ในกรณีต่าง ๆ ที่เป็นไปได้
Benchmarking คือ กระบวนการในการเทียบเคียงความสามารถในด้านต่าง ๆ เทียบกับคู่แข่ง ซึ่งบริษัท Xerox ผู้ผลิตเครื่องถ่ายเอกสารชั้นนำของโลก ได้นำวิธีการ Benchmarking นี้มาใช้ในช่วงปี 1980 เพื่อปรับปรุงความสามารถในการแข่งขันของตนเอง เนื่องจากบริษัท Xerox ประสบปัญหาด้านการตลาดอย่างรุนแรง สูญเสียความสามารถในการแข่งขันให้กับบริษัทคู่แข่งจากประเทศญี่ปุ่นที่เข้ามาตีตลาดด้วยราคาสินค้าที่ต่ำกว่า และคุณภาพที่ดีกว่า กระบวนการทำ Benchmarking คือ การวัด และเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ บริการ และวิธีการปฏิบัติงานกับองค์กรที่ดีกว่า