fbpx

“ปัจจัยสำคัญที่นำไปสู่วิถีแห่งโตโยต้า และทำให้โตโยต้าประสพความสำเร็จอย่างโดดเด่นนั้นมิได้เป็นองค์ประกอบเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งเท่านั้น หากแต่เป็นการทำให้องค์ประกอบเหล่านั้นทั้งหมดทำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบ ลักษณะการทำงานเช่นนี้จะต้องผ่านการฝึกปฏิบัติทุกวัน ๆ จนเป็นแนวปฏิบัติที่กระทำอยู่เป็นนิสัยอย่างสม่ำเสมอ มิใช่การปฏิบัติเพียงชั่วครั้งชั่วคราวเมื่ออยากจะทำเท่านั้น” – Taiichi Ohno หลักการ 14 ข้อตามวิถีแห่งโตโยต้า ตามงานวิจัยของ Dr.Jeffrey K. Liker ในหนังสือ “วิถีแห่งโตโยต้า” สามารถแบ่งออกได้ 4 หมวด Long-Term Philosophy The

Read More

หัวใจสำคัญของผู้ประกอบการที่เป็นผู้ผลิตสินค้า คือ ต้นทุนสินค้า การบริหารต้นทุนสินค้า โดยการทำโครงการประเภทลดต้นทุน (Cost Down) เป็นสิ่งสำคัญอย่างมากที่จะทำให้ได้ผลกำไรที่เพิ่มขึ้น (Profit Up) ยกตัวอย่าง เช่น สินค้าตัวหนึ่งราคา 100 บาทต่อหน่วย ต้นทุนสินค้าอยู่ที่ 60 บาทต่อหน่วย กำไรเท่ากับ 40 บาทต่อหน่วย หากในแต่ละเดือนโรงงานแห่งนี้มียอดขายสินค้าที่ 10,000 หน่วย จะได้รายรับทั้งสิ้น

Read More

Kaizen ปรัชญาการทำงานที่เป็นรากฐานที่สำคัญของการทำงานวิถีโตยาต้า (Toyota Way) โดยมุ่งเน้นให้ทุกคนคิด และลงมือทำตามกระบวนการ P-(Think)-D-(Think)-C-(Think)-A-(Think) โดยแทรกกระบวนการคิดไว้ในทุก ๆ ขั้นตอนเสมอ ทัศนคติที่ต้องการเปลี่ยนแปลงไปสู่สิ่งที่ดีกว่า คือ เรื่องสำคัญ ดังนั้น “การเกิดความพลาดนั้น ย่อมดีเสียกว่าไม่ทำอะไรเลย” มีคนจำนวนมากที่เข้าใจผิดว่า Kaizen นั้นหมายถึงเฉพาะ “การทำให้ดีขึ้น” เท่านั้น แต่ต้องย้ำกันว่า สิ่งที่มีความสำคัญที่สุดของ Kaizen นั้น

Read More

ในอดีตเมื่อกล่าวถึงความสามารถในการแข่งขัน เรามักจะโฟกัสไปเฉพาะในเรื่อง “Economy of Scale” แต่เมื่อกล่าวถึงในโลกแห่งการแข่งขันปัจจุบันนั้น ความรวดเร็วในการแข่งขัน “Economy of Speed” เป็นประเด็นที่สำคัญอย่างยิ่งที่จะทำให้ธุรกิจมีความสามารถเหนือกว่าคู่แข่งขัน อย่างเช่น McDonald ในหลาย ๆ ประเทศก็จะมีการันตีในการเสิร์ฟเบอร์เกอร์ให้กับลูกค้าภายในเวลา 60 วินาที หรืออย่างความสำเร็จของแบรนด์เสื้อผ้าชั้นดังระดับโลกอย่าง ZARA ที่ใช้กลยุทธ์การออกแบบ และผลิตสินค้าแฟชั่นคอลเลคชั่นใหม่ ๆ ออกสู่ตลาดในเวลาที่รวดเร็ว ในราคาที่ผู้บริโภคจับต้องได้

Read More

คำถามที่เริ่มมีคนถามมาบ่อย ๆ เวลาพูดถึงเรื่อง “Lean Management” ก็คือ “Lean” ใช้กันในวงการอุตสาหกรรม จะนำมาใช้กับองค์กรอย่างเราที่ไม่ใช่โรงงานอุตสาหกรรมได้เหรอ ? คำตอบ คือ “ได้สิครับ” เพราะสิ่งที่เรานำมาปรับประยุกต์ใช้นั้น ก็คือ วิธีคิดแบบลีน (Lean Thinking) วิธีคิดแบบลีน (Lean Thinking) คือ อะไร ? ต้องรู้ชัดในกระบวนการทางธุรกิจ

Read More

What? Why? How? คือ Concept ในการนำเสนอเรื่องราวต่าง ๆ ให้คนอื่นได้เข้าใจในสิ่งที่เราต้องการสื่อ ตัวอย่างที่ผมยกมาในวันนี้ จะขอยกหัวข้อ “Lean Management” ที่ผมสอนอยู่เป็นประจำ What is Lean Management ? Lean Management คือ แนวคิดการบริหารจัดการที่พัฒนามาจากระบบ TPS (Toyota Production

Read More

ทฤษฏีข้อจำกัด (Theory of Constraints : TOC) ถูกพัฒนาขึ้นโดย Goldratt หลักการสำคัญของ  TOC คือ ทุก ๆ ระบบเปรียบเหมือนห่วงโซ่ที่ร้อยเรียงกัน ในแต่ละห่วงโซ่จะประกอบด้วยจุดเชื่อมต่อที่มีความสามารถแตกต่างกันไป จะมีห่วงโซ่อยู่ห่วงหนึ่งที่อ่อนแอที่สุด เรียกว่า Weakest Link Weakest Link จะเป็นข้อจำกัด (Constraint)  ของความสามารถทั้งระบบ เปรียบไป

Read More

ในช่วงภาวะเศรษฐกิจฝืดเคืองเช่นนี้ บริษัทต่าง ๆ จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องหากลยุทธ์หลากหลายเข้ามาบริหารจัดการ เพื่อนำพาองค์กรให้ฝ่าวิกฤติเศรษฐกิจไปให้ได้ ซึ่งสามารถทำได้ 2 รูปแบบใหญ่ ๆ คือ กลยุทธ์ฝ่าด่านภายนอก คือ การใช้กลยุทธ์ทางการตลาดเป็นตัวนำที่จะสร้างความแตกต่างจากคู่แข่งขัน เพื่อให้ได้มาซึ่งส่วนแบ่งการตลาดที่เพิ่มขึ้น ราคาขายที่เพิ่มขึ้น กลยุทธ์รีดไขมันภายใน คือ การนำระบบการบริหารงานแบบลีน (Lean Management) เข้ามาช่วยจัดการการทำงานให้มีประสิทธิภาพ ลดการสูญเสียในกระบวนการต่าง ๆ เพื่อทำให้ต้นทุนลดต่ำลง ก็จะส่วนแบ่งกำไรที่เพิ่มขึ้น

Read More

ในการบริหารงานแบบลีน (Lean Management) นั้นมีพื้นฐานหลักอยู่ด้วยกัน 5 ประการ คือ Define Value – กำหนดคุณค่าของสินค้า จากมุมมองของลูกค้า ทั้งภายในและภายนอก Map Value Stream – การสร้างแผนผังสายธารคุณค่าในปัจจุบัน และอนาคตในสิ่งที่อยากเห็น หาทางขจัดความสูญเปล่าที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน Create Flow – สร้างให้เกิดการไหลของงานอย่างต่อเนื่อง ขจัดอุปสรรคต่าง

Read More

ค่า “Takt Time” คือ จังหวะความต้องการสินค้าของลูกค้า Takt เป็นภาษาเยอรมันที่ใช้เรียกจังหวะของเครื่องดนตรี ดังนั้น Takt Time คือ อัตราการผลิตที่ต้องผลิตเพื่อให้สอดคล้องกับปริมาณความต้องการของลูกค้า การคำนวณหาค่า Take Time = Available Time / Demand ตัวอย่างเช่น โรงงานแห่งหนึ่งมีความต้องการสินค้า (Demand) อยู่ที่ 420

Read More