ในคืนที่มีพายุฝนฟ้าคะนอง ครอบครัวหนึ่งหนีออกจากเมืองโซโดม แล้วต้องมาพบกับแม่น้ำที่ขวางทางอยู่ ตามคำพยากรณ์ในเวลานั้นบอกว่า สะพานจะขาดภายในเวลา 15 นาที ในการข้ามสะพานนี้ เวลาที่ต้องใช้สำหรับแต่ละคนเป็นดังนี้ ลูกชาย 1 นาที, ลูกสาว 2 นาที, พ่อ 5 นาที, แม่ 8 นาที และมีเงื่อนไขอยู่ว่า การข้ามสะพานแต่ละครั้ง สามารถข้ามได้ทีละ 2
Tag: ทักษะการคิด
นายเจฟเกิดทะเลอทะล่าไปอวดฉลาดกับเจ้าพ่อมาเฟียแห่งเมืองชิคาโก เจ้าพ่อมาเฟียจึงป้อนคำถามยาก ๆ ให้ตอบ ถ้านายเจฟตอบไม่ได้ก็จะต้องโดนหล่อฝังเข้าไปในคอนกรีต คำถามมีดังนี้ “มีขวดไวน์ขนาดบรรจุ 1 ลิตร อยู่ 1 ขวด และมีเหยือกขนาดบรรจุ 800 มิลลิลิตร อยู่ 1 ใบ ต้องการแบ่งไวน์ 400 มิลลิลิตร ให้มาอยู่ในเหยือกดังกล่าวนี้” ถามว่า นายเจฟจะทำได้อย่างไร ถ้าสิ่งที่เจ้าพ่อยื่นให้เป็นแก้วไวน์ขนาดบรรจุ
ในการสำรวจสภาพการณ์ของการพัฒนาเพื่อออกตัวผลิตภัณฑ์ X ที่เป็นยุทธศาสตร์ในเฟสต่อไปของบริษัทในตลาด 4 ราย คือ บริษัท A, B, C และ D ได้ข้อมูลว่า ถ้าบริษัท A หรือ B อย่างน้อยหนึ่งบริษัททำการพัฒนาอยู่ บริษัท C ก็กำลังพัฒนาด้วยเช่นเดียวกัน ถ้าบริษัท A หรือ C
หากเราใช้ทักษะความคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) เขียนแผนภาพที่เชื่อมโยงให้เห็นในมิติมุมมองของ BSC (Balanced Scorecard) ก็จะเห็นความเชื่อมโยงระหว่าง มุมมองทางด้านการเงิน มุมมองทางด้านลูกค้า มุมมองทางด้านกระบวนการ มุมมองทางด้านการเรียนรู้ และการเติบโต ซึ่งจะมีลักษณะเป็นวงจรเสริมแรง (Reinforcing Loop) อย่างง่าย ๆ ที่มี 2 วงซ้อนกันอยู่ คือ วงจรที่นำผลกำไรไปลงทุนในคน วงจรที่นำผลกำไรไปลงทุนในเครื่องจักร นี่คือ
หากพูดถึงคำว่าเป้าหมาย หลาย ๆ คนคงคิดถึงเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องส่วนตัว หรือในเรื่องงาน เป้าหมายนั้นอาจมีที่มาที่แตกต่างกันออกไป บางส่วนมาจากที่คนอื่นกำหนดให้ บางส่วนเราอาจจะต้องเป็นคนกำหนดเป้าหมายขึ้นมาเอง เมื่อมีค่าเป้าหมายตั้งไว้ ก็ต้องนำมาเปรียบเทียบกับค่าปัจจุบันที่เป็นอยู่ ก็จะเห็นช่องว่างระหว่างค่าเป้าหมายกับค่าปัจจุบัน นั่นคือสิ่งที่เป็นปัญหา (Problem) ที่เราต้องขจัดให้หมดไป หรือมองในอีกมุมหนึ่งมันคือความท้าทาย (Challenge) ที่เราต้องก้าวไปให้ถึง ดังนั้นเป้าหมายจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะเป็นตัวขับเคลื่อนให้เกิดการแข่งขัน และการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ลองนึกภาพดูสิครับถ้าการแข่งขันกีฬาประเภทต่าง ๆ อย่างเช่น การแข่งขันวิ่ง 100
เหตุใดความคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) จึงมีความสำคัญ ? ก็เพราะสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเรา รวมไปถึงตัวเราเองด้วยนั้น ล้วนมีความสัมพันธ์โยงใยที่เกี่ยวเนื่องกัน เพื่อให้เกิดความเข้าใจในเรื่องความคิดเชิงระบบมากขึ้น เราต้องเข้าใจเสียก่อนว่า “ระบบ คือ อะไร ?” และ “ความคิด คือ อะไร ?” ตัวอย่างระบบที่เราสามารถมองเห็นได้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่ ระบบร่างกาย (Body
ถ้าลองจินตนาการถึงการเติมน้ำ คุณอาจจะคิดว่าก็คงไม่มีอะไร “ก็แค่เปิดก๊อกน้ำเติมน้ำใส่แก้ว” ดูเหมือนลำดับความคิดจะเป็นแบบเส้นตรง (Linear Thinking) แต่ในความเป็นจริง รูปแบบความคิดในสมองคุณไม่ได้เป็นเช่นนั้น ขณะที่คุณกำลังเติมน้ำนั้น สายตาคุณก็กำลังมองระดับน้ำในแก้วที่ค่อย ๆ เพิ่มสูงขึ้น สมองคุณก็เริ่มเปรียบเทียบระดับน้ำในแก้วกับระดับน้ำที่ต้องการ จากนั้นสมองคุณก็เริ่มสั่งการร่างกายให้มือขยับไปหมุนก็อกน้ำให้ค่อย ๆ ปิดลง จนปิดสนิทเมื่อระดับน้ำในแก้วขึ้นมาถึงระดับที่ต้องการ จะเห็นว่ากระบวนการ “เติมน้ำใส่แก้ว” นั้น ก็เป็นตัวอย่างง่าย ๆ ในชีวิตประจำวัน ที่ใช้วิธีคิดเชิงระบบ (Systems
Affinity Diagram คือ เครื่องมือตัวหนึ่งที่จะช่วยจัดระเบียบความคิด จากการระดมสมอง เพื่อจัดไอเดียที่หลากหลายจำนวนมากมาย ออกเป็นกลุ่ม ๆ ที่มีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกัน เพื่อนำไปสู่การหาข้อสรุปร่วมกัน โดยมีขั้นตอนดังนี้ ร่วมกันระดมสมอง เขียนไอเดียเป็นข้อความที่กระชับ 1 ไอเดียต่อ 1 แผ่น ลงบน Post-it และติดไว้บนกระดาน หรือผนังกำแพง เพื่อที่ทุกคนจะได้เห็นได้ทั่ว ช่วยกันย้ายไอเดียที่ดูจะสัมพันธ์กันไปไว้อยู่กลุ่มเดียวกัน หากไอเดียไหนไม่เข้าพวกก็แยกไว้โดด ๆ