สรุปเนื้อหาสาระสำคัญในหลักสูตร “Problem Solving and Decision Making” ของอาจารย์บุญเลิศ คณาธนสาร
Tag: การแก้ปัญหา และตัดสินใจ
การแก้ปัญหาและตัดสินใจ ในโลกแห่งการแข่งขันในทางธุรกิจ เราพัฒนาทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ (Systems Thinking) เพื่อรับมือกับสถานการณ์ต่าง ๆ มากมายที่ต้องเผชิญ ไม่ว่าจะเป็น “สถานการณ์ที่ต้องแก้ปัญหาให้ตรงจุด” และ “สถานการณ์ที่ต้องตัดสินใจอย่างถูกต้อง”
สถานการณ์ COVID-19 ในประเทศไทยในปัจจุบัน เรียกได้ว่าเข้าขั้นวิกฤติ จำนวนผู้ติดเชื้อ และจำนวนคนเสียชีวิตพุ่งสูงขึ้นเรื่อย ๆ ไม่สามารถควบคุมการระบาดของโรคได้ บุคลากรทางการแพทย์ด่านหน้า แม้จะฉีดวัคซีน Sinovac ไปแล้ว 2 เข็ม ก็ยังติดเชื้อได้ ทางออกในภาะวิกฤตินี้ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมาทบทวนกลยุทธ์ในการจัดหาวัคซีน และขั้นตอนในการจัดหาวัคซีนกันใหม่ คำถามง่าย ๆ แต่สุดแสนจะทรงพลังในการปรับปรุงงาน ก็คือ การตั้งคำถามกับสิ่งที่ทำอยู่ด้วยคำถาม “5W1H” “What”
“ยิ้มไม่ออก กับ Thai Smile” วันนี้เป็นครั้งแรกที่ผมเดินทางกับสายการบิน Thai Smile และเป็นครั้งแรกที่ผมจะจำไว้ไม่มีวันลืม ผมต้องเดินทางไปเชียงใหม่ เพื่อไปบรรยายในวันที่ 26-27/01/2560 ที่บริษัท ช้าฟเนอร์ อีเอ็มซี จำกัด ผมเลยวางแผนเดินทางล่วงหน้าก่อน 1 วัน เพื่อจะได้พักผ่อนให้เต็มที่ เตรียมพร้อมให้เต็มที่กับการบรรยาย ผมเดินทางไปถึงสนามบินสุวรรณภูมิเวลา 12:15 น. เครื่องบินตามกำหนดการไฟล์ท WE182
เบื้องลึกการตัดสินใจ หลายครั้งหลายหนที่เรามักมีความคิดเห็นที่ขัดแย้งกัน บ่อยครั้งมักจบลงเอยด้วยการทะเลาะเบาะแว้งกัน ใช้คำพูดที่เหน็บแหนมกัน หากเป็นในที่ประชุมภายในบริษัท ภายในองค์กรก็มักจบลงด้วยการทุบโต๊ะโดยผู้มีอำนาจในที่ประชุม หรือลงมติด้วยเสียงข้างมากในที่ประชุม น้อยครั้งมากที่หันเข้าเข้ามาหากัน เพื่อพิจารณาในเรื่องรูปแบบความคิด (Mental Model) ที่มีในใจของแต่ละคน โดยปุถุชนคนทั่วไปจะมีรูปแบบในการตัดสินใจต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ดังรูปภาพ ปัจจัยในการตัดสินใจแต่ละคนไม่ได้มาจาก Information Feedback ที่เป็นข้อเท็จจริงเพียงอย่างเดียว แต่เกิดจากกฎเกณฑ์การตัดสินใจที่เกิดรูปแบบความคิด (Mental Model) ของคน ๆ นั้น
การวิเคราะห์ระบบ (Systems Analysis) เมื่อย้อนกลับไปดูที่บทที่ 1 ในเรื่องปัญหาในรูปแบบกรณีที่ 2 ซึ่งเป็นกรณีที่ “สิ่งที่ต้องการ (Target)” มากกว่า “ค่ามาตรฐาน (Standard)” ดังแสดงในรูปที่ 4.1 รูปที่ 4.1 ปัญหาในรูปแบบกรณีที่ 2 นี้เป็นปัญหาประเภท “ปัญหาพื้น ๆ (Standard Problem)” ที่เราสามารถที่จะใช้วิธีการเดิมในอดีตที่เคยทำสำเร็จตาม
การออกแบบระบบ (Systems Design) เมื่อย้อนกลับไปดูที่บทที่ 1 ในเรื่องปัญหาในรูปแบบกรณีที่ 1 ซึ่งเป็นกรณีที่ “สิ่งที่ต้องการ (Target)” มากกว่า “ค่ามาตรฐาน (Standard)” ดังแสดงในรูปที่ 3.1 ปัญหาในรูปแบบกรณีที่ 1 นี้เป็นปัญหาประเภท “ปัญหาท้าทาย (Challenge Problem)” ที่เราไม่สามารถที่จะใช้วิธีการเดิมในอดีตที่เคยทำสำเร็จตาม “ค่ามาตรฐาน (Standard)” มาใช้ได้อีกต่อไป
เมื่อเอ่ยถึงความคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) หลายคนคงนึกถึง หนังสือที่ชื่อว่า “The Fifth Discipline” ของ Peter M. Senge ซึ่งพูดถึงวินัยทั้ง 5 ประการ ขององค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) ได้แก่ Personal Mastery Mental Models Shared Vision
“ปัญหา คือ อะไร ?” “อะไร คือ ปัญหา ?” คือ คำถามที่คิดว่าหลาย ๆ คนคงเคยโดนตั้งคำถาม หรือเคยตั้งคำถามนี้กับตัวเอง เวลาที่ประสบพบเจอกับสิ่งที่คิดว่าเป็นปัญหาซึ่งมีทั้งเรื่องส่วนตัว และเรื่องงาน คำตอบที่มักได้ยินจากการตั้งคำถาม “ปัญหา คือ อะไร ?” “อะไร คือ ปัญหา ?” มักจะเป็น
เมื่อวานนี้ (25 พ.ค. 58) บริษัท ไทยทีวี จำกัด ผู้ได้รับใบอนุญาตทีวีดิจิทัล ช่องข่าว “ไทยทีวี” และช่องเด็ก “โลก้า” ได้ตัดสินใจขอบอกเลิกใบอนุญาต และเลิกประกอบกิจการทีวีดิจิทัล ทั้ง 2 ช่อง โดยทางบริษัท ไทยทีวี จำกัด ได้ส่งหนังสือถึง กสทช. โดยระบุสาเหตุว่า หลังจากบริษัทได้รับใบอนุญาตทีวีดิจิทัล เมื่อวันที่