fbpx

บุรุษนามว่า OSHO “OSHO” นักปรัชญาร่วมสมัยชาวอินเดีย แม้บุรุษผู้นี้จะล่วงลับไปแล้ว แต่คำบรรยายของ “OSHO” ต่อสานุศิษย์ทั้งหลาย ก็ยังคงเป็นเรื่องที่ทันสมัย และเข้าถึงคนรุ่นใหม่ได้ง่าย จนได้มีการถอดเทปการบรรยายของท่านออกเป็นหนังสือซีรีย์ต่าง ๆ จำนวนมากมาย และได้รับการแปลและเผยแพร่ในหลายภาษา รวมถึงภาษาไทยด้วย โดยส่วนใหญ่หนังสือภาษาไทยของ “OSHO” จะถูกจัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์ Freemind ได้แก่ ปัญญาญาณ, อิสรภาพ, วุฒิภาวะ, เชาว์ปัญญา,

Read More

The Lemon Tree บนเส้นทางการเรียนรู้ มีหลากหลายเส้นทางในการเรียนรู้ เพื่อทำให้เรามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องราวต่าง ๆ ได้มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน ที่เราสามารถหาความรู้ได้มากมายทั้งบนโลกออนไลน์ผ่านทาง Google, YouTube ฯลฯ หรือบนโลกที่จับต้องตัวสื่อได้ เช่น หนังสือพิมพ์รายวัน, นิตยสาร, หนังสือต่าง ๆ “The Lemon Tree” ผลงานของ “SANDY TOLAN”

Read More

คำถาม สำคัญกว่า คำตอบ แท้จริงแล้วในโลกการศึกษาของมนุษย์เราในปัจจุบันตั้งแต่ระดับอนุบาล จนถึงระดับปริญญานั้น เราถูกสอนให้หาแต่ คำตอบ เราถูกสอนให้ว่าต้องเรียนรู้อะไร เราถูกสอนให้เรียนรู้ว่าต้องทำอย่างไร แต่น้อยมากที่จะมีใครจะชี้แนะเราว่า “ทำไมถึงต้องเป็นเช่นนั้น” เด็กโดยธรรมชาติแล้ว เกิดมาพร้อมกับความกระหายใคร่รู้อยู่แล้ว เรียกได้ว่าเป็นสัญชาตญาณติดตัวมาตั้งแต่กำเนิด เมื่อพบเห็นอะไรใหม่ ๆ ก็จะตั้งคำถามว่าทำไม ทำไม จนเรียกได้ว่าเป็น “เจ้าหนูจำไม” ประจำบ้านกันเลยทีเดียว แต่เพราะผู้ใหญ่นี่แหละครับ ที่ทำให้สัญชาตญาณที่มีอยู่ล้นเปี่ยมของเด็กน้อยนั้นค่อย ๆ เลือนหายไป

Read More

คณิตศาสตร์ข้างถนน ผู้เขียนชื่นชอบการกินเต้าฮวยมาก ๆ ส่วนภรรยาก็ชื่นชอบการกินน้ำเต้าหู้อย่างมากเช่นกัน และแถวบ้านก็มีร้านขายเต้าฮวย-น้ำเต้าหู้อยู่เจ้าหนึ่ง อยู่ในซอยเพชรเกษม 54 เข้าซอยไปประมาณ 30 เมตร อยู่ด้านซ้ายมือ ขอบอกว่าอร่อย…อร่อย…มาก ๆ เนื้อเต้าฮวยเนียนมาก ๆ และน้ำขิงก็เผ็ดได้ใจกำลังดี ซดเข้าปากแล้วสดชื่นทันตา ปัญหาที่เกิดขึ้นคือ ผู้เขียนกับภรรยาเวลาซื้อก็มักจะซื้อไปฝากเพื่อนบ้านด้วย ก็ซื้อกันประมาณอย่างละ 3-4 ถุง ซึ่งหากอาเจ๊กแก้ตั้งราคา 10 บาท

Read More

เมื่อสองสัปดาห์ที่แล้วที่ผู้เขียนได้เขียนถึงเรื่อง “ผีเสื้อกระพือปีก” จากการได้พูดคุยกับ ดร.ไสว บุญมา ที่จะขยายแนวคิดโครงการส่งเสริมการอ่านนี้ไปยังที่ต่าง ๆ เพื่อให้เกิดแรงกระเพื่อมในวงกว้างนั้น ในวันเสาร์ที่ผ่านมา (23/11/56) ที่ร้าน House of  Commons – Café&Space (https://www.facebook.com/HOCSpace) ร้านกาแฟสไตล์ Learning Community เล็ก ๆ ย่านฝั่งธน ริม ถ.เจริญนคร

Read More

โตขึ้นหนูอยากเป็นอะไร? “โตขึ้นหนูอยากเป็นอะไร?” ประโยคคำถามยอดฮิตประโยคหนึ่งที่ผู้ใหญ่มักชอบถามเด็ก และคำตอบที่ได้ก็จะเป็นอยากเป็นคุณหมอบ้าง อยากเป็นนางพยาบาลบ้าง อยากเป็นวิศวกรบ้าง อยากเป็นคุณครูบ้าง หรือในยุคสมัยนี้อาจจะเปลี่ยนไปแล้วว่าอยากเป็นนักร้องบ้าง อยากเป็นดาราบ้าง อยากเป็นนักแบดมินตันมือ 1 ของโลกบ้าง สิ่งสำคัญคงไม่ใช่คำตอบว่าอยากเป็นอะไร แท้ที่จริงแล้วความสำคัญอยู่ที่เป้าหมายที่แท้จริงว่ามีความชัดเจนเพียงใด ในหนังสือวรรณกรรมเยาวชนคลาสสิค เรื่อง “อลิซ ในดินแดนมหัศจรรย์ (Alice in Wonderland)” มีตอนหนึ่งที่อลิซ ออกเดินทางแล้วไปเจอกับแมวตัวหนึ่ง “คุณเหมียวเชสเชอร์จ๊ะ ช่วยบอกหน่อยสิ

Read More

ใครว่าเด็กน้อยคิดไม่เป็น เหตุเกิดที่โรงเรียนอนุบาลแห่งหนึ่ง คนขับรถตู้ : คุณพ่อรับน้องไอซ์กลับบ้านไปแล้วใช่ไหมครับ เพราะน้องไอซ์ไม่ได้อยู่ที่โรงเรียนแล้ว คุณพ่อ : เปล่านะครับ หลังจากที่ตามหากันวุ่นอยู่ซักพัก คนขับรถตู้ : คุณพ่อครับ เจอน้องไอซ์แล้วนะครับ คุณพ่อ : ขอบคุณครับ ในช่วงรับประทานอาหารเย็นที่บ้าน คุณพ่อจึงเริ่มบทสนทนากับน้องไอซ์ คุณพ่อ : น้องไอซ์ตอนเย็นหลังเลิกเรียนหนูไปไหนอ่ะลูก คนขับรถตู้ถึงหาหนูไม่เจอ น้องไอซ์ :

Read More

“ห้องแต่งผมไมเต้” โลกของหนังสือ คือ โลกแห่งจินตนาการ โลกที่จำลองสะท้อนให้เห็นความเป็นจริงในสังคม วรรณกรรมเยาวชนเป็นหนังสือประเภทหนึ่งที่เป็นจุดเริ่มต้นของคนหลาย ๆ คน ให้หลงใหลในการอ่านหนังสือ “ห้องแต่งผมไมเต้” ผลงานของ มารี-โอ๊ด มูรัย ที่ได้รับการแปลเป็นภาษาไทย โดย เย็นตา จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์สวนเงินมีมา เป็นวรรณกรรมเยาวชนเรื่องหนึ่ง ที่ผู้เขียนได้หยิบมาอ่านแล้ววางไม่ลง ต้องอ่านรวดเดียวจนจบ เรื่องราวที่ชวนติดตามของเด็กหนุ่มชั้น ม.3 “หลุยส์ เฟรีแยรส์”

Read More

ในช่วงต้นเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา ผู้เขียนได้รับเชิญจาก สถาบันการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ให้ไปแบ่งปันประสบการณ์การเป็นกระบวนกร (Facilitator) ให้กับชุมชนกระบวนกร ในงาน CoP#16 ที่มีอาจารย์เอกรัตน์ รวยรวย เป็นผู้ประสานงานในการกิจกรรมเรียนรู้ครั้งนี้ให้เกิดขึ้น ผู้เขียนได้เล่าประสบการณ์การเป็นกระบวนกร (Facilitator) ตั้งแต่สมัยที่มีโอกาสมาทำงานที่โรงเรียนดรุณสิกขาลัย เพื่อเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้แบบ Constructionism เพื่อนำไปปรับใช้ในโครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของพนักงาน ธุรกิจกระดาษและบรรจุภัณฑ์ เครือซิเมนต์ไทย หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า โครงการ C-Pulp

Read More

ในวันนี้จะขอแนะนำหนังสือน่าอ่านสำหรับคนที่สนใจเรื่องการศึกษา หนังสือนี้ชื่อว่า “How Learning Works: 7 Research-Based Principles for Smart Teaching” ซึ่งมีการแปลเป็นภาษาไทยในชื่อ “การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21: 7 หลักการสร้างนักเรียนรู้แห่งอนาคตใหม่” ความน่าสนใจของหนังสือเล่มนี้ คือ การตั้งคำถามกับปัญหาในเรื่องที่ส่งผลต่อความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยการทำวิจัยนับพันชิ้น เพื่อให้เข้าใจปัญหา เข้าใจที่มาที่ไป และได้สรุปออกมาเป็นหลักการ 7 ข้อ

Read More