fbpx

ในการทำ CSR สิ่งสำคัญเริ่มเลย คือ การยอมรับต่อความรับผิดชอบต่อสังคม (Recognizing social responsibility) ซึ่งผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ควรมีความรับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดจากการดำเนินกิจกรรมและการตัดสินใจขององค์กร ด้วยความโปร่งใส มีจริยธรรม และให้สำคัญกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งผู้มีส่วนได้เสีย และสังคม ไม่ว่าจะเป็น ระดับความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรกับผู้มีส่วนได้เสีย ระดับความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรกับสังคม ระดับความสัมพันธ์ระหว่างผู้มีส่วนได้เสียกับสังคม เนื่องด้วยการตัดสินใจ และการดำเนินงานขององค์กร ย่อมส่งผลกระทบ (Impacts) ซึ่งประกอบไปด้วยผลประโยชน์ (Interests) และนำไปสู่ความคาดหวัง

Read More

เมื่อวานนี้ (01/12/2558) ได้มีโอกาสอ่านหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ในหน้า 7 คอลัมน์ “หลังสู้ฟ้า หน้าสู้ดิน” ที่ได้เขียนเรื่องราวเกี่ยวกับ “ศูนย์เรียนรู้วิถีพอเพียงเครือเบทาโกร” นับเป็นเรื่องที่น่ายินดีเป็นอย่างยิ่งที่องค์กรชั้นนำของประเทศ ได้นำแนวคิด “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ของในหลวง มาปฏิบัติให้เกิดผล ได้ประโยชน์ทั้งในเรื่องการลดค่าใช้จ่ายของรีสอร์ทเอง และเป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อเผยแพร่แนวคิดเกษตรพอเพียง ให้กับเกษตรกร นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจเข้ามาศึกษาหาความรู้ ซึ่งเป็นที่แน่นอนว่าเมื่อองค์กรชั้นนำของประเทศจัดทำ “ศูนย์เรียนรู้” ขึ้นมาก็คงต้องทำให้เสมือนโชว์รูม มีการทุ่มเทงบประมาณ

Read More

ความรับผิดชอบต่อสังคมของผู้ประกอบการอุตสาหกรรม คือ ความรับผิดชอบของผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ต่อผลกระทบที่เกิดขึ้น ทั้งในด้านสังคม และสิ่งแวดล้อม อันเนื่องมาจากการตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมขององค์กร ด้วยความโปร่งใสและมีจริยธรรม โดยผู้ประกอบการอุตสาหกรรม จะต้องตั้งมั่นอยู่บน หลักการความรับผิดชอบต่อสังคม 7 ประการ 1.หลักการความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (Accountability) ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ควรมีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมในสิ่งที่เป็นผลกระทบที่เกิดขึ้นจากองค์กร โดยองค์กรควรยอมรับการตรวจสอบ และพร้อมที่จะรับผิดชอบในผลการตรวจสอบนั้น 2.หลักการความโปร่งใส (Transparency) ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ควรมีความโปร่งใสในการตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมขององค์กร ที่มีผลกระทบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม

Read More

ด้วยการเติบโตและพัฒนาของภาคเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ซึ่งมีการขยายกำลังการผลิต และเติบโตอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหามลพิษทางด้านสิ่งแวดล้อม ปัญหาความเป็นธรรมในการจ้างงาน รวมไปถึงผลกระทบอื่น ๆ ตลอดห่วงโซ่อุปทาน ผู้ประกอบการที่มีธรรมาภิบาล (Good Governance) จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องคำนึงถึงผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ทั้งหมด มิใช่คำนึงถึงผลกำไรของบริษัท กับผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้น (Shareholders) เพียงเท่านั้น เพื่อให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมมีแนวทางในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และมีมาตรฐานในการดำเนินงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน กรมโรงงานอุตสาหกรรม จึงได้จัดทำมาตรฐานความรับผิดชอบของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคม (Standard

Read More

เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2558 ทางองค์การสหประชาชาติ (UNESCO) ได้ประกาศยกย่อง “ศาสตราจารย์ ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์” เป็นบุคคลสำคัญของโลก และในปี 2559 ที่จะครบรอบ 100 ปี ชาตกาล “ศาสตราจารย์ ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์” ทางมูลนิธิเสฐียรโกเศศ-นาคะประทีป  ได้จัดพิมพ์ปฏิทินตั้งโต๊ะ “100 ปี ป๋วย อึ๊งภากรณ์

Read More

“Butterfly Effect” “ทฤษฎีผีเสื้อกระพือปีก (Butterfly effect)” อันลือลั่นนั้น ไม่ได้มีความเกี่ยวเนื่องกับการศึกษาวงจรชีวิตของเจ้าผีเสื้อตัวน้อยแต่อย่างใด แต่เกิดจากการทดลองทางด้านการพยากรณ์อากาศ ในปี ค.ศ. 1961 ของเอ็ดเวิร์ด ลอเรนซ์ (Edward Lorenz) ด้วยการใช้คอมพิวเตอร์สร้างแบบจำลองสภาพอากาศ ซึ่งในการคำนวณครั้งถัดมาเขาไม่ต้องการเริ่มแบบจำลองจากจุดเริ่มต้นใหม่เพื่อประหยัดเวลาในการคำนวณ เขาจึงใช้ข้อมูลในการคำนวณก่อนหน้านี้เพื่อเป็นค่าเริ่มต้น เขาพบว่าสาเหตุเกิดจากการปัดเศษ จากการคำนวณค่าที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีค่าน้อยมากแม้แค่เพียง .0000001 ที่คลาดเคลื่อนไปนั้นก็สามารถนำไปสู่ความแตกต่างอย่างมากมาย เรียกว่าไวต่อสภาวะเริ่มต้น ซึ่งก่อให้เกิดกราฟรูปผีเสื้อ

Read More

“Butterfly Effect” “ทฤษฎีผีเสื้อกระพือปีก (Butterfly effect)” อันลือลั่นนั้น ไม่ได้มีความเกี่ยวเนื่องกับการศึกษาวงจรชีวิตของเจ้าผีเสื้อตัวน้อยแต่อย่างใด แต่เกิดจากการทดลองทางด้านการพยากรณ์อากาศ ในปี ค.ศ. 1961 ของเอ็ดเวิร์ด ลอเรนซ์ (Edward Lorenz) ด้วยการใช้คอมพิวเตอร์สร้างแบบจำลองสภาพอากาศ ซึ่งในการคำนวณครั้งถัดมาเขาไม่ต้องการเริ่มแบบจำลองจากจุดเริ่มต้นใหม่เพื่อประหยัดเวลาในการคำนวณ เขาจึงใช้ข้อมูลในการคำนวณก่อนหน้านี้เพื่อเป็นค่าเริ่มต้น เขาพบว่าสาเหตุเกิดจากการปัดเศษ จากการคำนวณค่าที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีค่าน้อยมากแม้แค่เพียง .0000001 ที่คลาดเคลื่อนไปนั้นก็สามารถนำไปสู่ความแตกต่างอย่างมากมาย เรียกว่าไวต่อสภาวะเริ่มต้น ซึ่งก่อให้เกิดกราฟรูปผีเสื้อ

Read More

วันนี้ (07/11/58) ได้ไปใช้บริการที่โรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง ได้เป็นคิวเสริมตรวจกับหมอในช่วงบ่าย ผมไปถึงที่โรงพยาบาลประมาณ 13:20 น. ก็ทำการตรวจวัดความดัน ชั่งน้ำหนักตามปกติ แล้วก็รอคิวเข้าพบหมอ ได้เป็นคิวที่ 7 ในการเข้าตรวจ ก็นั่งรออยู่ประมาณ 25-30 นาที ก็ได้เข้าพบหมอ ใช้เวลาในการพบหมอประมาณ 10 นาที เป็นอันว่าตรวจเสร็จสิ้นเวลา 14:00 น. โดยวันนี้ไม่ได้มีการจ่ายยาใด ๆ

Read More

สัมภาษณ์งานอย่างนี้ก็มีด้วย วันนี้ (03/11/58) ผมได้มีโอกาสไปสัมภาษณ์งานที่บริษัทยักษ์ใหญ่ค่ายมือถือแห่งหนึ่งย่านพระราม 9 ก็ไปถึงก่อนเวลานัดหมายประมาณ 20 นาที ทาง HR ก็ให้ทำแบบทดสอบบุคลิกภาพ ก็จะเป็นคำถามถามวนไปวนมาทั้งหมด 24 ข้อ โดยให้เวลาทำภายใน 5 นาที หลังจากทำแบบทดสอบแล้ว ก็มานั่งรอคิวสัมภาษณ์ รออยู่สักพักเพราะมีคนสัมภาษณ์ก่อนหน้าเรา กว่าจะเริ่มสัมภาษณ์ก็เวลา 14:30 น. ผมใช้เวลาในการสัมภาษณ์อยู่ประมาณครึ่งชั่วโมง ก็เล่าประสบการณ์ในการทำงานทั้งที่

Read More

เมื่อชีวิตไม่ได้มีแค่ “เกียร์เดินหน้า” หรือ “เกียร์ถอยหลัง” วันนี้ (02/11/58) ผมได้มีโอกาสอันดี ที่ได้เป็น “Coachee” ของอาจารย์ไชยยศ ปั้นสกุลไชย วิทยากรชื่อดังของประเทศไทย โดยเราไปนั่งโค้ชกันในบรรยากาศอันแสนสงบ ณ ร้านกาแฟแห่งหนึ่งด้านหน้าสยามสมาคม ช่วงเกริ่นนำทำความรู้จักระหว่าง “Coach” กับ “Coachee” นั้นเป็นเพียงช่วงระยะเวลาสั้น ๆ เท่านั้น เพราะผมกับอาจารย์คุ้นเคยเป็นอย่างดี เพียงแต่อาจารย์บอกว่าให้ทำตัวสบาย ๆ

Read More