fbpx

รูปที่ 1 การตั้งเป้าหมายด้วยมุมมอง Think from Right Hand Side การตั้งเป้าหมาย คือ หนึ่งในกระบวนการของการวางแผน หรือในกระบวนการแก้ไขปัญหา (ดังแสดงในรูปที่ 2) ที่เราต้องรู้ให้แน่ชัดเสียก่อนว่าเป้าหมายที่เราต้องการอยู่ที่ระดับใด ? รูปที่ 2 วงจรการแก้ปัญหาแบบ Systems Problem Solving ซึ่งโดยทั่วไปแล้วที่เรานิยมตั้งเป้าหมายกันนั้นจะใช้มุมมอง Think from

Read More

ในหลักการบริหารจัดการแบบลีน (Lean Management) นั้น ต้องออกแบบกระบวนการให้มีการไหลลื่นไม่ติดขัด Flow อย่างต่อเนื่อง แต่แล้วสิ่งที่เกิดขึ้นในกระบวนการทำงานนั้น ล้วนแต่มีสิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อการไหลลื่น อันประกอบไปด้วย 3 MU ได้แก่ Muda – ความสูญเสียที่เกิดขึ้นในงาน อันประกอบไปด้วย “ความสูญเสีย 7 ประการ” Overproduction (การผลิตที่มากเกินไป) Inventory (การมีสินค้าคงคลังเกินความจำเป็น) Motion

Read More

“Jidoka” หมายถึง การควบคุมตัวเองโดยอัตโนมัติ เพื่อป้องกันการเกิด Defect ของชิ้นงานที่จะหลุดไปยังกระบวนการต่อไป คือ แทนที่จะปล่อยให้ไปตรวจพบของเสีย (Defect) ที่ปลายทางจำนวนมา ก็ให้รีบทำการหยุด Line การผลิตเพื่อแก้ไขทันที โดยมีเป้าหมายร่วมกัน คือ Zero Defect แนวคิดพื้นฐาน คือ จะต้องไม่ส่งของเสีย (Defect) ไปยังหน่วยงานถัดไป และป้องกันความเสี่ยงที่ของเสียจะหลุดไปถึงมือลูกค้าด้วย ดูรายละเอียดหลักสูตร “Business

Read More

Just-in-time : JIT คือ สถานะในอุดมคติที่มีการไหลของงานอย่างต่อเนื่อง (Continuous Flow) ที่เป็นไปตามความต้องการของลูกค้า ได้แก่ ทำเฉพาะสินค้าที่ลูกค้าสั่งเท่านั้น ทำให้เสร็จภายในเวลาที่ลูกค้าต้องการเท่านั้น ทำในปริมาณที่ลูกค้าต้องการเท่านั้น เพราะฉะนั้นการออกแบบกระบวนการไหลของสินค้า ตั้งแต่ขั้นตอนเตรียมวัตถุดิบ ไปผ่านขั้นตอนการแปรรูปต่าง ๆ จนกลายเป็นผลิตภัณฑ์ จนไปถึงกระบวนการบรรจุหีบห่อ และส่งมอบสินค้า จะต้องมีจังหวะที่สอดประสานกัน เกิดการไหลอย่างต่อเนื่อง ไม่มีจุดคอขวด (Bottleneck) ที่ทำให้กระบวนการชะงักงัน สภาวะในอุดมคติของ

Read More

เมื่อเริ่มต้นที่จะวิเคราะห์เรื่องใด สิ่งสำคัญเลย ก็คือ ทุกคนในทีมจะต้องมีความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันเสียก่อน การใช้คำพูดเพียงอย่างเดียวในการสื่อสาร ก็อาจจะทำให้ผู้ฟังเข้าใจคลาดเคลื่อนไปได้ เครื่องมืออย่างหนึ่งที่จะช่วยทำให้เราสื่อสารกันเข้าใจถูกต้องตรงกัน ก็คือ การเขียนออกมาเป็นแผนภาพความคิด (Thought Model) ซึ่งแผนภาพความคิดอาจจะมีรูปแบบที่แตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับประเด็นที่เราพูดคุยกันอยู่ เช่น เราอาจจะเลือกใช้ Ansoff Matrix ในการพูดคุยกันในกรณีที่เรากำลังคุยกันในเรื่องกลยุทธ์ด้านการตลาด เราอาจจะเลือกใช้ Five Force Analysis เมื่อเรากำลังวิเคราะห์ภาพการแข่งขันในอุตสาหกรรมที่เราอยู่ เราอาจจะเลือกใช้ Value

Read More

ทุกคนล้วนย่อมเผชิญกับปัญหา แต่บางครั้งก็ติดขัดไม่รู้จะเริ่มต้นยังไง ในวันนี้อยากจะขอนำเสนอมุมมองความคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) ขั้นพื้นฐาน ในการนำมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา โดยเริ่มต้นที่ Step 1 – Problem ต้องรู้ให้แน่ชัดเสียก่อนว่าปัญหาของเรา คือ อะไร ? ซึ่งเราจะรู้ได้จาก 1.1 Actual Performance สิ่งที่ทำได้จริง ทำได้อยู่ที่เท่าไหร่ 1.2 Target สิ่งที่เราต้องการได้

Read More

“ความกลัว ความเชื่อ อำนาจ” (บทความนี้ถูกตีพิมพ์ลงใน นสพ.กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันอาทิตย์ที่ 24 มกราคม 2559) ครอบครัวนับเป็นหน่วยทางสังคมที่เล็กที่สุด แต่นับเป็นหน่วยทางสังคมที่ทรงอิทธิพลมากต่อการเติบโตของเด็กคนหนึ่ง เพราะเด็กจะเติบโตมาภายใต้สภาพแวดล้อมที่ผู้นำครอบครัว ผู้ที่มีอิทธิพลสูงสุดในครอบครัว (ไม่ว่าจะเป็นพ่อ หรือจะเป็นแม่ หรือจะเป็นพ่อและแม่ทั้งสองคนที่มีอิทธิพลร่วมกัน) เป็นผู้กำหนดให้ ซึ่งเป็นไปตามความเชื่อ ความปราถนาดีที่คิดว่าเป็นสิ่งที่ดีที่สุดสำหรับเด็กเหล่านั้น ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อของผู้นำครอบครัว ก็คือ ประสบการณ์ที่ตนเองประสบพบเจอมาในแต่ละช่วงวัย ทำให้เกิดความระแวดระวัง ความกลัวต่อสภาพแวดล้อมของสังคมภายนอกที่เป็นอันตราย ทำให้เกิดเบ้าหลอมทางความคิดชุดหนึ่งขึ้นมาจนกลายเป็นความเชื่อว่าสภาพแวดล้อมใดที่ดีต่อเด็ก

Read More

หลายบริษัท หลายองค์กร ละเลย และมองข้ามความสำคัญของการทำ CSR ไป เพราะมองแต่เพียงว่าเป็นค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายเพิ่มขึ้นมาเท่านั้น แท้ที่จริงแล้วหากบริษัท และองค์กรต่าง ๆ หันมามองในมุมมองที่แตกต่างไป มองว่า CSR คือ กลยุทธ์หนึ่งที่จะทำให้สามารถเติบโตคู่ไปกับสังคมได้อย่างยั่งยืน (Sustainable Development) หากมองในมุมเชิงกลยุทธ์แล้ว ก็คงต้องมาพิจารณาในเรื่อง Strategic Community Investment ซึ่งจะมุ่งเน้นไปที่การบริหารทรัพยากร และจุดแข็งที่องค์กรมี ที่จะนำไปใช้ทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน

Read More

เหตุใด “Word of Mouth” จึงนับเป็นเครื่องมือทางการตลาดที่ทรงพลัง ? จุดเริ่มต้นอยู่ที่การสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า เมื่อลูกค้าพึงพอใจก็จะช่วยกันบอกต่อ ส่งผลให้ยอดขายเพิ่มสูงขึ้น และถ้าสามารถรักษาคุณภาพของสินค้าไว้ได้ ก็จะทำให้ลูกค้าพึงพอใจ และบอกต่อกันไปเรื่อย ๆ ส่งผลให้ยอดขายเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ เปรียบไปก็เหมือนปรากฏการณ์ “Snowball” ที่ลูกหิมะขนาดเล็ก ๆ เมื่อกลิ้งลงมาตามภูเขาก็จะมีขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ ดังที่เห็นในรูป ซึ่งเป็นรูปแบบพื้นฐานของวิธีคิดเชิงระบบ (Systems Thinking)

Read More

ถ้าลองจินตนาการถึงการเติมน้ำ คุณอาจจะคิดว่าก็คงไม่มีอะไร “ก็แค่เปิดก๊อกน้ำเติมน้ำใส่แก้ว” ดูเหมือนลำดับความคิดจะเป็นแบบเส้นตรง (Linear Thinking) แต่ในความเป็นจริง รูปแบบความคิดในสมองคุณไม่ได้เป็นเช่นนั้น ขณะที่คุณกำลังเติมน้ำนั้น สายตาคุณก็กำลังมองระดับน้ำในแก้วที่ค่อย ๆ เพิ่มสูงขึ้น สมองคุณก็เริ่มเปรียบเทียบระดับน้ำในแก้วกับระดับน้ำที่ต้องการ จากนั้นสมองคุณก็เริ่มสั่งการร่างกายให้มือขยับไปหมุนก็อกน้ำให้ค่อย ๆ ปิดลง จนปิดสนิทเมื่อระดับน้ำในแก้วขึ้นมาถึงระดับที่ต้องการ จะเห็นว่ากระบวนการ “เติมน้ำใส่แก้ว” นั้น ก็เป็นตัวอย่างง่าย ๆ ในชีวิตประจำวัน ที่ใช้วิธีคิดเชิงระบบ (Systems

Read More