ช่วงหลังนี้ผมมักจะนำ BoardGame ที่ชื่อว่า “Hey! That My Fish” ไปให้ผู้เรียนได้เล่นกันในหลักสูตร “การคิดเชิงกลยุทธ์” เสมอ ถามว่าเล่นเกม Hey! That my fisn แล้วได้เรียนรู้อะไร ? นอกจากความสนุกสนาน คำตอบที่ได้มันเกิดขึ้นระหว่างที่ผู้เรียนเล่นเกมอยู่ ผู้เรียนได้เข้าใจทฤษฎีเกม (Game Theory) จากการเรียนรู้ผ่านเกม ไม่ใช่จากการ Lecture
ประเด็นความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร (Corporate Social Responsibility – CSR) กำลังเป็นที่ให้ความสนใจกันมากในปัจจุบัน ที่เรียกร้องให้องค์กร และบริษัทต่าง ๆ เข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้นในการรับผิดชอบต่อสังคม และจะมีความสำคัญอย่างมากต่อรูปแบบการดำเนินธุรกิจขององค์กรต่าง ๆ ในอนาคตที่จะทำอย่างไรให้สามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างยั่งยืน สามารถแข่งขันได้ โดยอยู่บนพื้นฐานความรับผิดชอบต่อสังคม Creating Shared Value – CSV คือ หนึ่งในแนวคิดที่ Michael E.
หากพูดถึงคำว่าเป้าหมาย หลาย ๆ คนคงคิดถึงเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องส่วนตัว หรือในเรื่องงาน เป้าหมายนั้นอาจมีที่มาที่แตกต่างกันออกไป บางส่วนมาจากที่คนอื่นกำหนดให้ บางส่วนเราอาจจะต้องเป็นคนกำหนดเป้าหมายขึ้นมาเอง เมื่อมีค่าเป้าหมายตั้งไว้ ก็ต้องนำมาเปรียบเทียบกับค่าปัจจุบันที่เป็นอยู่ ก็จะเห็นช่องว่างระหว่างค่าเป้าหมายกับค่าปัจจุบัน นั่นคือสิ่งที่เป็นปัญหา (Problem) ที่เราต้องขจัดให้หมดไป หรือมองในอีกมุมหนึ่งมันคือความท้าทาย (Challenge) ที่เราต้องก้าวไปให้ถึง ดังนั้นเป้าหมายจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะเป็นตัวขับเคลื่อนให้เกิดการแข่งขัน และการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ลองนึกภาพดูสิครับถ้าการแข่งขันกีฬาประเภทต่าง ๆ อย่างเช่น การแข่งขันวิ่ง 100
เหตุใดความคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) จึงมีความสำคัญ ? ก็เพราะสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเรา รวมไปถึงตัวเราเองด้วยนั้น ล้วนมีความสัมพันธ์โยงใยที่เกี่ยวเนื่องกัน เพื่อให้เกิดความเข้าใจในเรื่องความคิดเชิงระบบมากขึ้น เราต้องเข้าใจเสียก่อนว่า “ระบบ คือ อะไร ?” และ “ความคิด คือ อะไร ?” ตัวอย่างระบบที่เราสามารถมองเห็นได้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่ ระบบร่างกาย (Body
เมื่อเอ่ยถึง Learning Organization หลายคนจะนึกถึงหนังสือที่ชื่อว่า “The Fifth Discipline” ของ Peter M. Senge ซึ่งพูดถึงวินัยทั้ง 5 ประการ ขององค์กรแห่งการเรียนรู้ ได้แก่ Personal Mastery Mental Models Shared Vision Team Learning Systems
เลือกหัวข้อปัญหาอย่างไรให้โดนใจนาย ? คงเป็นเรื่องหนึ่งที่ลูกน้องหลาย ๆ คน คิดตั้งคำถามกับตัวเองเสมอในเวลาที่โดนเจ้านายถามว่า “ปีนี้มีแผนปรับปรุงอะไรที่จะทำให้งานดีขึ้น ?” เทคนิคง่าย ๆ ในการเลือกหัวข้อปัญหาให้โดนใจนาย มีดังนี้ รวบรวมปัญหาจากหลาย ๆ แหล่ง เช่น เสียงจากลูกค้าที่พร่ำบ่นอยู่ตลอด ไม่ว่าจะเป็นลูกค้าภายนอก และลูกค้าภายในเอง (คำว่า “ลูกค้าภายใน” หมายถึง หน่วยงานที่เราต้องส่งมอบงานหรือบริการให้), หรือจะมาจากนโยบาย KPIs
คำถามที่เริ่มมีคนถามมาบ่อย ๆ เวลาพูดถึงเรื่อง “Lean Management” ก็คือ “Lean” ใช้กันในวงการอุตสาหกรรม จะนำมาใช้กับองค์กรอย่างเราที่ไม่ใช่โรงงานอุตสาหกรรมได้เหรอ ? คำตอบ คือ “ได้สิครับ” เพราะสิ่งที่เรานำมาปรับประยุกต์ใช้นั้น ก็คือ วิธีคิดแบบลีน (Lean Thinking) วิธีคิดแบบลีน (Lean Thinking) คือ อะไร ? ต้องรู้ชัดในกระบวนการทางธุรกิจ
กรณีสายการบิน “นกแอร์” ที่เมื่อเดือนที่แล้วเกิดเหตุการณ์นักบินประท้วงในวันวาเลนไทน์ ทำให้ต้องยกเลิกเที่ยวบินกะทันหัน ตามมาด้วยข่าวการประกาศแจ้งยกเลิก 20 เที่ยวบิน ในวันที่ 23 ก.พ. 59 ที่ตามมาเพียงแค่สัปดาห์เดียว อะไรเกิดขึ้นกับ “นกแอร์” ? คือสิ่งที่น่านำมาขบคิดอย่างเป็นระบบ ในรายงานข่าวของ นสพ.กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันอาทิตย์ที่ 21 ก.พ. 59 ได้รายงานไว้ว่า “แหล่งข่าวสายการบินนกแอร์ กล่าวถึงสาเหตุที่นกแอร์ประกาศยกเลิกเที่ยวบินในวันที่
What? Why? How? คือ Concept ในการนำเสนอเรื่องราวต่าง ๆ ให้คนอื่นได้เข้าใจในสิ่งที่เราต้องการสื่อ ตัวอย่างที่ผมยกมาในวันนี้ จะขอยกหัวข้อ “Lean Management” ที่ผมสอนอยู่เป็นประจำ What is Lean Management ? Lean Management คือ แนวคิดการบริหารจัดการที่พัฒนามาจากระบบ TPS (Toyota Production
ทฤษฏีข้อจำกัด (Theory of Constraints : TOC) ถูกพัฒนาขึ้นโดย Goldratt หลักการสำคัญของ TOC คือ ทุก ๆ ระบบเปรียบเหมือนห่วงโซ่ที่ร้อยเรียงกัน ในแต่ละห่วงโซ่จะประกอบด้วยจุดเชื่อมต่อที่มีความสามารถแตกต่างกันไป จะมีห่วงโซ่อยู่ห่วงหนึ่งที่อ่อนแอที่สุด เรียกว่า Weakest Link Weakest Link จะเป็นข้อจำกัด (Constraint) ของความสามารถทั้งระบบ เปรียบไป