fbpx

ชื่อหนังสือ : เขียวเปลี่ยนโลก (The Truth about Green Business) ชื่อผู้เขียน : Gill Friend ชื่อผู้แปล : สฤณี อาชวานันทกุล สำนักพิมพ์ : โอเพ่นเวิลด์ส ราคา : 300 บาท ความคุ้มค่า :

Read More

“เรากำลังจะส่งมอบอะไรให้ลูกหลาน ?” บ้าน ที่ดิน ทรัพย์สินเงินทองต่าง ๆ คือ สิ่งที่คนทั่ว ๆ ไปสะสมเป็นมรดกให้ลูกหลาน แต่มันเป็นแค่เพียงปัจจัยทุนทางเศรษฐกิจเท่านั้น ส่วนในมิติอื่น ๆ ได้แก่ มิติทางสังคม และมิติทางสิ่งแวดล้อม เป็นคำถามที่ชวนให้ครุ่นคิดว่า “เรากำลังจะส่งมอบอะไรให้ลูกหลาน ?” ในบทความ “ปี 2050 ฤาจะเป็น อวสานวันสิ้นโลก ?” ได้แสดงให้เห็นข้อมูลที่น่าสนใจว่า

Read More

ชีวลอกเลียน (Biomimicry) คือ การทำตามวิถีของธรรมชาติ ที่เราเรียนรู้พื้นฐานจากธรรมชาติ และนำมาต่อยอดในการเปลี่ยนวิถีที่เราดำเนินธุรกิจ ออกแบบผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ให้เกิดการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ หลักการสำคัญ คือ การมองธรรมชาติเป็นต้นแบบ ดังเช่นการออกแบบชุดว่ายน้ำ Speedo รุ่น LZR Racer ที่ Michael Phelps ใส่แข่งขันตอนว่ายน้ำในกีฬาโอลิมปิกจนได้ 8 เหรียญทอง ก็มาจากแรงบันดาลใจในการศึกษาในเรื่องผิวหนังของฉลาม รถ

Read More

นับวันประชากรโลกมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ปริมาณการบริโภคก็มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นด้วยเช่นเดียวกัน ซึ่งผลของการผลิต และบริโภคที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องนี้เอง ก็ทำให้มีการปลดปล่อย CO2 ในระดับที่สูงขึ้นเรื่อย ๆ จนปัจจุบันมีค่าเกินกว่า 400 ppm เข้าไปแล้ว ว่ากันว่าถึงระดับ 500 ppm เมื่อไหร่ภาวะโลกร้อนจะเข้าสู่ภาวะวิกฤติ ภาคส่วนธุรกิจ และอุตสาหกรรมนับเป็นภาคส่วนที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเมื่อเทียบกับภาคส่วนอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ หรือ NGO และมีความพร้อมมากที่สุดที่จะสร้างการเปลี่ยนแปลงให้โลกใบนี้ ถามว่ามีแนวทางไหนที่จะนำพาธุรกิจไปสู่การเป็นธุรกิจที่ยั่งยืน

Read More

สถานการณ์โลกร้อนเริ่มเข้าสู่ภาวะวิกฤติ จากข้อมูลล่าสุดขององค์กร NASA  ที่ได้ตรวจวัดระดับก๊าซ CO2 ในชั้นบรรยากาศ พบว่ามีระดับเพิ่มขึ้นสูงอย่างพรวดพราดตั้งแต่ปี 1950 เป็นต้นมา หากลองย้อนกลับไปดูย้อนหลังตั้งแต่ปี 2007 พบว่าระดับ  CO2 สูงขึ้นอย่างต่อเนื่องเฉลี่ยปีละ 4 ppm ซึ่งในปัจจุบันมีค่าสูงเกิน 400 ppm เข้าไปแล้ว ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ได้ระบุว่าหากระดับ CO2 ถึงระดับ 500 ppm

Read More

พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavior) คือ ปัจจัยสำคัญที่ธุรกิจต้องให้ความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง และเฝ้าจับตาการเปลี่ยนไปของพฤติกรรมผู้บริโภค ในปัจจุบันนี้ผู้บริโภคส่วนหนึ่งประมาณการณ์กันว่าประมาณ 20% ของจำนวนผู้บริโภคทั้งหมดในอเมริกา เริ่มมีพฤติกรรมที่เป็นลักษณะ “ผู้บริโภคที่มีจิตสำนึก (Conscious Consumer)” ที่ใส่ใจในเรื่องสุขภาพ สิ่งแวดล้อม การพัฒนาตนเอง การใช้ชีวิตอย่างยั่งยืน และความยุติธรรมทางสังคม โดยมีการให้คำนิยามว่าเป็น “วิถีชีวิตที่รักสุขภาพและความยั่งยืน (Lifestyles of Health and Sustainability

Read More

แม้ว่านักวิชาการ, NGOs หรือภาคส่วนไหน ๆ จะเรียกร้องหา “ธุรกิจที่ยั่งยืน” ที่อยากเห็นการดำเนินธุรกิจที่ใส่ใจต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม ไม่ใช่มุ่งแสวงหากำไรเพียงอย่างเดียว… การเรียกร้องนั้นก็คงเป็นเพียงภาพฝันอันเลือนลางที่ยากจะเกิดขึ้นจริง… แต่สิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้จริง ก็ต่อเมื่อ เจ้าของกิจการ / ผู้นำองค์กร กล้าที่จะลุกขึ้นมาสร้างความเปลี่ยนแปลงวิถีการดำเนินธุรกิจด้วยตนเอง เมื่อนั้นองค์กรของท่านก็จะเปลี่ยนสถานะจาก “จำเลยของสังคม” มาเป็น “ผู้นำการเปลี่ยนแปลงของสังคม” “นายเรียนรู้” อาจารย์บุญเลิศ คณาธนสาร วิทยากร และที่ปรึกษา

Read More

ในอดีตเมื่อกล่าวถึงความสามารถในการแข่งขัน เรามักจะโฟกัสไปเฉพาะในเรื่อง “Economy of Scale” แต่เมื่อกล่าวถึงในโลกแห่งการแข่งขันปัจจุบันนั้น ความรวดเร็วในการแข่งขัน “Economy of Speed” เป็นประเด็นที่สำคัญอย่างยิ่งที่จะทำให้ธุรกิจมีความสามารถเหนือกว่าคู่แข่งขัน อย่างเช่น McDonald ในหลาย ๆ ประเทศก็จะมีการันตีในการเสิร์ฟเบอร์เกอร์ให้กับลูกค้าภายในเวลา 60 วินาที หรืออย่างความสำเร็จของแบรนด์เสื้อผ้าชั้นดังระดับโลกอย่าง ZARA ที่ใช้กลยุทธ์การออกแบบ และผลิตสินค้าแฟชั่นคอลเลคชั่นใหม่ ๆ ออกสู่ตลาดในเวลาที่รวดเร็ว ในราคาที่ผู้บริโภคจับต้องได้

Read More

ช่วง 2 เดือนที่ผ่านมาผู้เขียนได้มีโอกาสไปบรรยายในหัวข้อ “ทำอย่างไรให้ประเทศไทยเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ?” ให้กับคณะกรรมการพัฒนาชุมชนในพื้นที่โรงไฟฟ้า ในพื้นที่ต่าง ๆ โดยจัดขึ้นทั้งที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร จังหวัดระยอง และจังหวัดนครราชสีมา โดยมีจำนวนผู้เข้าฟังในแต่ละครั้งประมาณ 80 คน ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจในคำนิยามเบื้องต้นก่อนว่า “สังคมแห่งการเรียนรู้ คือ อะไร ?” “สังคมแห่งการเรียนรู้” หมายถึง กระบวนการทางสังคมที่เกื้อหนุนส่งเสริมให้บุคคลหรือสมาชิกในชุมชน ในสังคมเกิดการเรียนรู้ โดยผ่านสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ

Read More

ในการบริหารจัดการสมัยใหม่ สิ่งที่องค์กรพยายามเฟ้นหาก็คือ กรอบการบริหารจัดการที่จะนำพาองค์กรไปสู่ความยั่งยืน จากการศึกษาวิจัยในบทความ “A Framework for Successful TQM Implementation and Its Effect on the Organizational Sustainability Development” ได้พบว่า การนำ TQM เข้ามาเป็นเครื่องมือในการบริหารองค์กร จะก่อให้เกิดปัจจัยที่จะเป็นรากฐานสำคัญในการขับเคลื่อนองค์กรไปสู่ความยั่งยืน ได้แก่ Top

Read More