“ปัญหา คือ อะไร ?” “อะไร คือ ปัญหา ?” คือ คำถามที่คิดว่าหลาย ๆ คนคงเคยโดนตั้งคำถาม หรือเคยตั้งคำถามนี้กับตัวเอง เวลาที่ประสบพบเจอกับสิ่งที่คิดว่าเป็นปัญหาซึ่งมีทั้งเรื่องส่วนตัว และเรื่องงาน คำตอบที่มักได้ยินจากการตั้งคำถาม “ปัญหา คือ อะไร ?” “อะไร คือ ปัญหา ?” มักจะเป็น
หากพูดถึงการทำ CSR ในภาคธุรกิจ ส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นกันไปทำในเรื่อง CSR After Process เช่น ทำบุญ ให้ทุน ปลูกป่า ทอดกฐิน แจกผ้าห่ม ฯลฯ มีธุรกิจน้อยรายที่เริ่มหันมาให้ความใส่ใจเรื่อง CSR ในเชิงกลยุทธ์ ความรับผิดชอบต่อสังคมเชิงกลยุทธ์ (Strategic CSR) หมายถึง การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรแบบ “เชิงรุก” โดยองค์กรจะยกระดับจากการเป็นเพียงบริษัทที่สามารถปฏิบัติได้ตามมาตรฐานข้อกำหนดต่าง ๆ
Sustainable Development Goals คือ “เป่าหมายโลก” ที่องค์การสหประชาชาติให้ทุกประเทศรับไปเป็นกรอบในการพัฒนา ซึ่งเป้าหมายทั้ง 17 ข้อ จะถูกใช้เป็น “จริยธรรมสากล” กำกับทิศทางการพัฒนาโลก ระหว่างปี 2558 ถึง 2573 แม้ว่ากลุ่มเป้าหมายหลักจะเป็นรัฐบาล แต่จริง ๆ แล้วภาคธุรกิจมีส่วนสำคัญอย่างมากในการทำให้เป้าหมายต่าง ๆ บรรลุผล เป้าหมายทั้ง 17 ข้อ
หากจะชี้ให้เห็นความสำคัญของ KPIs ประการหนึ่ง ก็คือ เป็นดัชนีชี้วัดให้เราเห็นว่า เราสามารถที่จะบรรลุ Goal ที่ตั้งไว้ได้หรือไม่ ? ดังนั้น KPIs จะไม่มีความสำคัญใด ๆ เลย หาก Goal ของเราไม่ชัดเจน จากงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด โดยการทำแบบสำรวจ 600 ฉบับ ได้ข้อสรุปว่า คนที่ไม่มี Goal ที่ชัดเจน
ความสำเร็จ…ส่วนหนึ่งย่อมมาจาก “การวัด” ที่ถูกต้อง Jame Harrington ได้กล่าวไว้ว่า KPIs (ดัชนีชี้วัดสำเร็จ) คือ เครื่องมือที่ใช้วัดผลการดำเนินงาน ประเมินผลการดำเนินงาน ในด้านต่าง ๆ ขององค์กรซึ่งสามารถแสดงในรูปของตัวเลข อัตราส่วน ร้อยละ เพื่อสะท้อนประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการทำงานขององค์กร หรือหน่วยงานต่าง ๆ ภายในองค์กร หลักการในการกำหนด KPIs หลักเหตุ และผล
หากเราใช้ทักษะความคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) เขียนแผนภาพที่เชื่อมโยงให้เห็นในมิติมุมมองของ BSC (Balanced Scorecard) ก็จะเห็นความเชื่อมโยงระหว่าง มุมมองทางด้านการเงิน มุมมองทางด้านลูกค้า มุมมองทางด้านกระบวนการ มุมมองทางด้านการเรียนรู้ และการเติบโต ซึ่งจะมีลักษณะเป็นวงจรเสริมแรง (Reinforcing Loop) อย่างง่าย ๆ ที่มี 2 วงซ้อนกันอยู่ คือ วงจรที่นำผลกำไรไปลงทุนในคน วงจรที่นำผลกำไรไปลงทุนในเครื่องจักร นี่คือ
สิ่งที่จะทำให้เราสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองได้อย่างดีนั้น คือ การเข้าใจตัวตนของตัวเอง และการเข้าใจจุดแข็งของตนเอง หลักสูตร “ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น…เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่” คือ หนึ่งในหลักสูตรที่ผมได้พัฒนาขึ้นมา โดยนำศาสตร์ความรู้ในเรื่อง Enneagram มาผสมผสานกับเนื้อหาในหนังสือ “เจาะจุดแข็ง” (StrengthsFinder) กับหนังสือ “สร้างจุดเด่น เน้นจุดแกร่ง” (StandOut) ผมกลับมานั่งทบทวนเนื้อหาในหลักสูตรนี้อีกครั้ง เมื่อได้เรียนรู้แนวการฝึกอบรมสไตล์ Training and Group Coaching (T&GC) เพื่อให้ตัวเองสามารถเป็นกระจกสะท้อนที่ใสให้กับผู้เรียนจะสามารถ
ผู้นำที่ดีต้องมีคุณลักษณะ “3H” อันได้แก่ Head – บริหารด้วยสมอง และความคิด Heart – บริหารด้วยใจ มีความเข้าอกเข้าใจ Hand – บริหารโดยประพฤติตนเป็นแบบอย่าง ไม่ใช่ชี้นิ้วสั่ง “นายเรียนรู้” อาจารย์บุญเลิศ คณาธนสาร วิทยากร และที่ปรึกษา A@LERT Learning and Consultant มือถือ
รากที่สอง พอเอ่ยถึงคำ ๆ นี้ คงเป็นที่ขยาดของใครต่อใครหลาย ๆ คน แต่แท้ที่จริงรากที่สอง ไม่ใช่เรื่องที่เข้าใจยากเลย หากเราเข้าใจที่มาของมัน “รากที่สอง” มาจากคำว่า “Square root” ในภาษาอังกฤษ “Square” หมายถึง สี่เหลี่ยมจัตุรัส “Root” หมายถึง ราก ต้นตอ ดังนั้นจึงน่าจะเกี่ยวข้องกับ ต้นตอของสี่เหลี่ยมจัตุรัส ง่าย
ว่ากันต่อด้วยไอเดียการทำโครงการ “โรงเรียนนักคิด” วันนี้ได้มีโอกาสคุยกับอาจารย์ท่านหนึ่งที่สนใจในโครงการนี้ ซึ่งสนใจอยากให้ไปจัดอบรมให้กับอาจารย์อาชีวะที่อยู่ในกลุ่มเครือข่ายทั่วประเทศกว่า 400 วิทยาลัย เป็นโจทย์ที่ต้องขบคิดกันต่อไปว่าจะไปสร้างความร่วมมืออย่างไรในระดับ Cluster ระหว่างภาครัฐ กับภาคเอกชนที่เป็นผู้ประกอบการในท้องถิ่นนั้น ที่จะมาร่วมขับเคลื่อนโครงการ “โรงเรียนนักคิด” ให้เกิดขึ้น ดูรายละเอียดหลักสูตร “Analytical and Systematic Thinking” สนใจฝึกอบรมติดต่อ A@LERT Learning and Consultant คุณชลมารค (มิลค์)