Post Grid #1
หายนะสนทนา สู่ สุนทรียสนทนา
(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ 11/05/2557) ในท่ามกลางวิกฤติปัญหาบ้านเมืองที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน มีผู้ใหญ่หลายท่านได้แนะให้ทุกฝ่ายหันหน้าเข้าหากัน เพื่อพูดคุยหาทางออกของปัญหา ด้วยวิธีการสุนทรียสนทนา (Dialogue) จากประสบการณ์ของผู้เขียนที่เคยเข้าร่วมวง Dialogue ก็ได้เรียนรู้มุมมองที่เป็นประโยชน์หลายประเด็นสำคัญ ๆ ดังนี้ 1. “สุนทรียสนทนา” (Dialogue) ไม่ใช่ยาวิเศษ ที่จะสามารถนำใช้ในการแก้ปัญหาใดก็ได้ในทันที แต่ Dialogue คือ จุดเริ่มต้นกระบวนการในการเรียนรู้ร่วมกัน โดยการปล่อยวางความคิด ห้อยแขวนคำพิพากษาไว้ก่อน อย่าเพิ่งด่วนตัดสินความคิดคนอื่น ดังนั้นจึงต้องมีกติกาว่า…
Power of Questions
(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ 13/04/2557) “ทุก ๆ ครั้ง ที่เรากำลังจะได้อะไร” ให้ถามต่อไปว่า “แล้วคนอื่นเสียอะไรไปบ้าง” “อย่าถามว่าฉันจะได้อะไร” แต่จงถามว่า “แล้วฉันจะให้อะไรกับคนอื่นได้บ้าง” (สาระธรรมเพื่อมวลชน จากท่าน ว.วชิรเมธี) มีคนกล่าวไว้ว่า “คำถามที่ทรงพลัง สร้างการเปลี่ยนแปลงอันยิ่งใหญ่” เวลาเราร่วมมือกันทำอะไรส่วนใหญ่เรามักมองเพียง 2 มิติ คือ หากทำเรื่องนี้สำเร็จแล้ว เธอจะได้อะไร และหากทำเรื่องนี้สำเร็จแล้ว…
เรียนเป็นเล่น เล่นเป็นเรียน
(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ 26/01/2557) “เรียนเป็นเรียน เล่นเป็นเล่น” คำพร่ำสอนของผู้ใหญ่ที่เน้นย้ำต่อเด็ก ๆ ในเรื่องระเบียบวินัย ความตั้งใจสนใจเรียนอย่างจริงจัง จนทำให้เรื่องเรียนกลายเป็นเรื่องที่น่าเบื่อ พอถึงเวลาเล่นเด็กส่วนใหญ่ก็นิยมเล่นเกมผ่านมือถือ แท็บเล็ต หรือไม่ก็ไปตามร้านเกมต่าง ๆ แถวบ้านซึ่งเปิดบริการ 24 ชั่วโมง จนกลายเป็นแหล่งมั่วสุมสำหรับเด็ก เริ่มต้นจากเล่นเกม ไปจนถึงหัดสูบบุหรี่ ซิ่งมอเตอร์ไซค์ต่าง ๆ นานา คำถามก็คือ จะทำอย่างไร? หรือมีทางเลือกอื่นอีกไหมที่จะทำให้เด็กได้เล่น…
Reading Community
(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ 12/01/2557) ในปี 2556 กรุงเทพมหานคร ได้รับมอบตำแหน่งเมืองหนังสือโลกประจำปี 2556 (World Book Capital 2013) เป็นลำดับที่ 13 ต่อจากกรุงเยเรวาน ประเทศอาร์เมเนีย และได้มีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ก็ช่วยทำให้มีความตื่นตัวในการอ่านมากขึ้น รวมทั้งงานมหกรรมสัปดาห์หนังสือแห่งชาติที่มีจัดขึ้นปีละ 2 ครั้ง แต่ก็ยังปรากฎว่า เมื่อนำตัวเลขการอ่านหนังสือของคนไทยมาวางเทียบกับสมาชิกอาเซียนพบว่า “การอ่านของคนไทยอยู่ในระดับวิกฤต…