Post Grid #1
กรณีศึกษา "ไทยทีวี-โลก้า" เกี่ยวกับการตัดสินใจในเรื่องต้นทุนจม
เมื่อวานนี้ (25 พ.ค. 58) บริษัท ไทยทีวี จำกัด ผู้ได้รับใบอนุญาตทีวีดิจิทัล ช่องข่าว “ไทยทีวี” และช่องเด็ก “โลก้า” ได้ตัดสินใจขอบอกเลิกใบอนุญาต และเลิกประกอบกิจการทีวีดิจิทัล ทั้ง 2 ช่อง โดยทางบริษัท ไทยทีวี จำกัด ได้ส่งหนังสือถึง กสทช. โดยระบุสาเหตุว่า หลังจากบริษัทได้รับใบอนุญาตทีวีดิจิทัล เมื่อวันที่ 27 เม.ย. 2557 นั้น ที่ชนะการประมูล…
แน่ใจแล้วหรือ ที่ต้ดสินใจอย่างนั้น…?
แน่ใจแล้วหรือ ที่ตัดสินใจอย่างนั้น…? photo credit: http://www.flickr.com/photos/8136122@N06/3886848645 ในชีวิตของคนเราย่อมมีปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ให้ตัดสินใจอยู่ตลอดเวลา แต่ละคนก็มีเรื่องเล็กเรื่องใหญ่แตกต่างกันไปที่ต้องให้ตัดสินใจ ขึ้นอยู่กับบทบาทที่แตกต่างกันไปทั้งในเรื่องส่วนตัว เรื่องในครอบครัว เรื่องในที่ทำงานและเรื่องในสังคม การตัดสินใจที่เป็นเรื่องส่วนตัว ค่อนข้างง่ายเมื่อเปรียบเทียบกับการตัดสินใจร่วมกับคนอื่น เพราะจะมีอิทธิพลของคนรอบข้างเข้ามากดดันต่อการตัดสินใจค่อนข้างน้อย กระบวนการตัดสินใจแบบกลุ่มที่ดี จะต้องประกอบด้วยปัจจัยสำคัญ 3 ประการ 1. “Free” – เป็นอิสระจากแรงกดดันจากคนรอบข้าง 2. “Prior” – มีระยะเวลาเพียงพอให้ครุ่นคิด ระดมสมอง และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 3. “Informed”…
Innovative Habits
ในงาน Give&Take ครั้งล่าสุดที่ผ่านมา เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2558 อาจารย์ธงชัย โรจน์กังสดาล จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้แบ่งปันความรู้ในหัวข้อ กฎสามข้อในการสร้างนิสัยใหม่อย่างต่อเนื่อง ซึ่งอาจารย์ธงชัย ได้สรุปเป็นหลักการไว้ดังนี้ “1. Single: เราควรสร้างนิสัยทีละอย่าง อย่าสร้างนิสัยหลายอย่างพร้อมๆ กัน ควรทำนิสัย 1 อย่างให้ต่อเนื่องจนเป็นอัตโนมัติ แล้วจึงเริ่มสร้างนิสัยใหม่ และควรมีแรงจูงใจมากพอในการสร้างนิสัย ไม่ใช่ทำเพราะถูกบังคับให้ทำ Simple: นิสัยที่ทำได้ต่อเนื่องทุกวัน เริ่มต้นให้เลือกนิสัยที่ทำได้ง่าย เช่น…
จับประเด็น เห็นเรื่องราว
ในการดำเนินชีวิตประจำวันของทุกคน ล้วนรายรอบไปด้วยข้อมูลข่าวสาร ทั้งจากการสนทนากับคนรอบข้าง ทั้งจากการประชุมต่าง ๆ นานาและจากการรับรู้ผ่านทางสื่อหลากหลายช่องทาง ไม่ว่าจะเป็นโทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ และ Internet สิ่งสำคัญ คือ เราจะเลือกรับฟังเพื่อคัดกรองข้อมูล (Data) ที่ถาโถมเข้ามาอย่างไร เพื่อให้ได้แก่นประเด็นสำคัญ (Key Issues) ของเรื่องราวนั้น ๆ การรับฟังที่ดีนั้น ผู้รับฟังข่าวสาร อย่าทำตัวเป็น “Passive Listener” คือ รับฟังเพียงอย่างเดียว โดยไม่ได้คิดไตร่ตรองในสิ่งที่ได้ยินมา แต่จะต้องทำตัวเป็น…