Post Grid #1
ผู้มีส่วนได้เสีย สำคัญไฉน ? ในการทำ CSR
ในการทำ CSR สิ่งสำคัญเริ่มเลย คือ การยอมรับต่อความรับผิดชอบต่อสังคม (Recognizing social responsibility) ซึ่งผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ควรมีความรับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดจากการดำเนินกิจกรรมและการตัดสินใจขององค์กร ด้วยความโปร่งใส มีจริยธรรม และให้สำคัญกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งผู้มีส่วนได้เสีย และสังคม ไม่ว่าจะเป็น ระดับความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรกับผู้มีส่วนได้เสีย ระดับความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรกับสังคม ระดับความสัมพันธ์ระหว่างผู้มีส่วนได้เสียกับสังคม เนื่องด้วยการตัดสินใจ และการดำเนินงานขององค์กร ย่อมส่งผลกระทบ (Impacts) ซึ่งประกอบไปด้วยผลประโยชน์ (Interests) และนำไปสู่ความคาดหวัง (Expectations) ที่มีของผู้มีส่วนได้เสีย และสังคม ดังนั้นการชี้บ่งผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder…
"ต่อยอดศูนย์เรียนรู้ ไม่ให้สูญสลาย กลายเป็นศูนย์"
เมื่อวานนี้ (01/12/2558) ได้มีโอกาสอ่านหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ในหน้า 7 คอลัมน์ “หลังสู้ฟ้า หน้าสู้ดิน” ที่ได้เขียนเรื่องราวเกี่ยวกับ “ศูนย์เรียนรู้วิถีพอเพียงเครือเบทาโกร” นับเป็นเรื่องที่น่ายินดีเป็นอย่างยิ่งที่องค์กรชั้นนำของประเทศ ได้นำแนวคิด “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ของในหลวง มาปฏิบัติให้เกิดผล ได้ประโยชน์ทั้งในเรื่องการลดค่าใช้จ่ายของรีสอร์ทเอง และเป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อเผยแพร่แนวคิดเกษตรพอเพียง ให้กับเกษตรกร นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจเข้ามาศึกษาหาความรู้ ซึ่งเป็นที่แน่นอนว่าเมื่อองค์กรชั้นนำของประเทศจัดทำ “ศูนย์เรียนรู้” ขึ้นมาก็คงต้องทำให้เสมือนโชว์รูม มีการทุ่มเทงบประมาณ และจัดสรรบุคลากร เพื่อจัดการให้เป็นระเบียบเรียบร้อย สอดคล้องกับภาพลักษณ์ของรีสอร์ท และองค์กรเอง แต่ในอีกด้านหนึ่งคงเป็นคำถามสำหรับใครหลาย…
7 หลักการความรับผิดชอบต่อสังคม
ความรับผิดชอบต่อสังคมของผู้ประกอบการอุตสาหกรรม คือ ความรับผิดชอบของผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ต่อผลกระทบที่เกิดขึ้น ทั้งในด้านสังคม และสิ่งแวดล้อม อันเนื่องมาจากการตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมขององค์กร ด้วยความโปร่งใสและมีจริยธรรม โดยผู้ประกอบการอุตสาหกรรม จะต้องตั้งมั่นอยู่บน หลักการความรับผิดชอบต่อสังคม 7 ประการ 1.หลักการความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (Accountability) ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ควรมีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมในสิ่งที่เป็นผลกระทบที่เกิดขึ้นจากองค์กร โดยองค์กรควรยอมรับการตรวจสอบ และพร้อมที่จะรับผิดชอบในผลการตรวจสอบนั้น 2.หลักการความโปร่งใส (Transparency) ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ควรมีความโปร่งใสในการตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมขององค์กร ที่มีผลกระทบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม 3.หลักการปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม (Ethical behavior) ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ควรมีการพัฒนาโครงสร้างธรรมาภิบาลที่ช่วยส่งเสริมให้เกิดการปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม…
มาตรฐานความรับผิดชอบของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคม
ด้วยการเติบโตและพัฒนาของภาคเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ซึ่งมีการขยายกำลังการผลิต และเติบโตอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหามลพิษทางด้านสิ่งแวดล้อม ปัญหาความเป็นธรรมในการจ้างงาน รวมไปถึงผลกระทบอื่น ๆ ตลอดห่วงโซ่อุปทาน ผู้ประกอบการที่มีธรรมาภิบาล (Good Governance) จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องคำนึงถึงผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ทั้งหมด มิใช่คำนึงถึงผลกำไรของบริษัท กับผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้น (Shareholders) เพียงเท่านั้น เพื่อให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมมีแนวทางในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และมีมาตรฐานในการดำเนินงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน กรมโรงงานอุตสาหกรรม จึงได้จัดทำมาตรฐานความรับผิดชอบของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคม (Standard for Corporate Social Responsibility, Department…