fbpx

Home

Post Grid #1

สรุปประเด็นสำคัญในการแก้ปัญหาด้วย QC Story และ QC 7 Tools

สรุปประเด็นสำคัญในการแก้ปัญหาด้วย QC Story และ QC 7 Tools

นายเรียนรู้Dec 21, 20192 min read

ประเด็นสำคัญในการแก้ปัญหาด้วย QC Story และ QC 7 Tools มีดังนี้ มุมมองในการทำความเข้าใจกับปัญหา คือ ความแตกต่างระหว่าง ผลงานที่เกิดขึ้นจริง (Actual Performance) กับผลงานที่ควรจะเป็น (Should Performance) ดังนั้นถ้าแก้ปัญหาได้สำเร็จจริง ผลงานจะต้องดีขึ้น สิ่งที่สำคัญก่อนการวิเคราะห์สาเหตุ คือ ต้องสังเกตการณ์อาการ ปรากฏการณ์ที่เป็นตัวบ่งชี้ปัญหาอย่างละเอียดโดยใช้หลัก 5G คือ สภาวะที่ควรจะเป็นรู้ได้ด้วย 2G (Genri, Gensoku) สภาวะที่เกิดขึ้นจริงรู้ได้ด้วย…

ความสัมพันธ์ระหว่าง TQM, QCC, QC Story และ 7 QC Tools

ความสัมพันธ์ระหว่าง TQM, QCC, QC Story และ 7 QC Tools

TQM, QCC, QC Story และ 7 QC Tools มีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กันอย่างไร ? TQM ย่อมาจาก Total Quality Management แต่ไม่ใช่เรื่องของแผนกคุณภาพเพียงแผนกเดียว เป็นเรื่องของการบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพทั่วทั้งองค์กร เพื่อให้ได้สินค้า / บริการที่มีคุณภาพ สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า การนำแนวคิดการบริหารแบบ TQM มาใช้ให้ประสบผลสำเร็จนั้น ต้องส่งเสริมให้พนักงานทุกคนช่วยกันคิดปรับปรุงงานและแก้ไขปัญหาที่หน้างานของตนเองผ่านการรวมกลุ่มทำกิจกรรมด้วยกันในรูปแบบกลุ่ม QCC โดยเป้าหมายในการรวมกลุ่มกันเพื่อปรับปรุงงาน และแก้ไขปัญหาที่หน้างานในรูปแบบ QCC ก็คือ…

ลดเวลา-เพิ่มความลื่นไหลให้กระบวนการด้วย “การจัดสมดุลการผลิต (Line Balancing)”

ลดเวลา-เพิ่มความลื่นไหลให้กระบวนการด้วย “การจัดสมดุลการผลิต (Line Balancing)”

นายเรียนรู้Oct 16, 20193 min read

“การจัดสมดุลการผลิต” หรือที่เรียกกันคุ้นหูว่า “Line Balancing” นั้น ช่วยให้กระบวนการไหลลื่น ลดเวลาในการรอคอยของงานที่กองอยู่ในกระบวนการได้อย่างไร เราลองมาดูตัวอย่างนี้กัน กระบวนการทำงานของงานหนึ่ง ประกอบด้วยงานย่อย ๆ 5 สถานีงาน คือ  A, B, C, D และ E โดยใช้เวลาในแต่ละสถานีงานแตกต่างกันไป โดยจุดคอขวด (จุดที่ใช้เวลานานที่สุด) ของกระบวนการทำงานนี้ คือ สถานีงาน C ซึ่งใช้เวลาในการทำงาน 1 ชิ้น…

ผังก้างปลา (Fish Bone Diagram)

ผังก้างปลา (Fish Bone Diagram)

นายเรียนรู้Aug 31, 20193 min read

ผังก้างปลา (Fish Bone Diagram) หรืออาจจะเรียกในอีกชื่อว่า ผังแสดงสาเหตุและผล (Casue and Effect Diagram) หรือหลายคนอาจจะเรียกชื่อตามผู้คิดค้นเครื่องมือนี้ คือ แผนผังอิชิกาว่า (Ishikawa Diagram) ซึ่งเครื่องมือนี้ได้รับการพัฒนาครั้งแรกเมื่อปี 1943 โดยศาสตราจารย์คาโอรุ อิชิกาว่า แห่งมหาวิทยาลัยโตเกียว สำนักมาตรฐานอุตสาหกรรมแห่งญี่ปุ่น (JIS) ได้นิยามความหมายของผังก้างปลาไว้ดังนี้ “ผังก้างปลา เป็นแผนผังที่ใช้แสดงความสัมพันธ์อย่างเป็นระบบระหว่างสาเหตุหลาย ๆ สาเหตุที่เป็นไปได้ที่ส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาหนึ่งปัญหา” ผังก้างปลา เป็นเครื่องมือตัวหนึ่งของ 7…