สรุปเนื้อหาสาระสำคัญในหลักสูตร “Problem Solving and Decision Making” ของอาจารย์บุญเลิศ คณาธนสาร
Category: Systems Problem Solving and Decision Making
สรุปสาระสำคัญจากหนังสือ “Ultimate Skills – ทักษะจำเป็นแห่งอนาคต” 20 ทักษะแห่งอนาคต ที่ไม่ใช่แค่ “มีก็ดี” แต่ “จำเป็นต้องมี”
สรุปสาระสำคัญจากหนังสือ “Ultimate Skills – ทักษะจำเป็นแห่งอนาคต” 20 ทักษะแห่งอนาคต ที่ไม่ใช่แค่ “มีก็ดี” แต่ “จำเป็นต้องมี”
ปรับปรุงงานด้วยหลักการคิดอย่างเป็นระบบ System Thinking
ปรับปรุงงานด้วยหลักการคิดอย่างเป็นระบบ ทำไมต้องคิดเป็นระบบ (System Thinking) คิดแบบอื่นได้มั้ย? วิธีคิดมีหลายรูปแบบไม่ว่าจะเป็นความคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking) ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) หรือ ความคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking) แล้วความคิดเป็นระบบ (System Thinking) ต่างจากความคิดแบบอื่นๆ อย่างไร ทำไมจึงจำเป็นสำหรับการทำงาน ก่อนที่จะทำความเข้าใจว่าความคิดเป็นระบบสำคัญอย่างไร เราต้องเข้าใจก่อนว่ารูปแบบความคิดแต่ละแบบเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการทำงานและแก้ปัญหานั้นมีจุดเด่นที่แตกต่างกัน ความคิดเป็นระบบช่วยให้เราเห็นภาพรวม ก่อนที่จะมองลงไปที่กระบวนการย่อยๆ
หลายคนที่เคยเรียนหลักสูตร Problem Solving and Decision Making มาก่อน คงได้มีโอกาสทบทวนความรู้มาประยุกต์ใช้จริงกับสถานการโควิด 19 นี้แล้ว ด้วยสถานการณ์ทุกอย่างเปลี่ยนแปลง ไม่แน่นอน และมีปัญหาเกิดขึ้นได้ตลอดแบบรายวันทั้งในชีวิตงาน และชีวิตส่วนตัว ยกตัวอย่างง่ายๆ ที่เจอกับตัวเองทั้งเรื่องงานและเรื่องส่วนตัว มาเริ่มกันที่เรื่องงานกันก่อนดีกว่าค่ะ ลูกค้าขอยกเลิกหรือเปลี่ยนตารางฝึกอบรมเป็นสิบรุ่น บ้างขอลดระยะเวลาฝึกอบรมจาก 1 วันเหลือ 2 ชั่วโมง เปลี่ยนแผนการฝึกอบรม ขอหลักสูตรใหม่ๆ
เทคนิควิเคราะห์สาเหตุรากเหง้าด้วย Why-Why Analysis
การวิเคราะห์สาเหตุรากเหง้าของปัญหา หรือที่เรียกว่า Root Cause Analysis นั้น มีเทคนิคในการตั้งคำถามที่นิยมใช้กัน ก็คือ การตั้งคำถามด้วยคำว่า “ทำไม-ทำไม?” ซึ่งมีการเรียกเทคนิคนี้ว่า “Why-Why Analysis” หรือ “5 Why Analysis” แล้วแต่จะเรียกกันไป เมื่อลองมาวิเคราะห์ดูว่า เหตุใดเทคนิคการตั้งคำถามง่าย ๆ ด้วย “ทำไม-ทำไม?” แบบนี้ จึงเป็นที่นิยมกัน
สถานการณ์ COVID-19 ในประเทศไทยในปัจจุบัน เรียกได้ว่าเข้าขั้นวิกฤติ จำนวนผู้ติดเชื้อ และจำนวนคนเสียชีวิตพุ่งสูงขึ้นเรื่อย ๆ ไม่สามารถควบคุมการระบาดของโรคได้ บุคลากรทางการแพทย์ด่านหน้า แม้จะฉีดวัคซีน Sinovac ไปแล้ว 2 เข็ม ก็ยังติดเชื้อได้ ทางออกในภาะวิกฤตินี้ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมาทบทวนกลยุทธ์ในการจัดหาวัคซีน และขั้นตอนในการจัดหาวัคซีนกันใหม่ คำถามง่าย ๆ แต่สุดแสนจะทรงพลังในการปรับปรุงงาน ก็คือ การตั้งคำถามกับสิ่งที่ทำอยู่ด้วยคำถาม “5W1H” “What”
Productivity Facilitator ฟันเฟืองสำคัญเพิ่มผลผลิตองค์กร
ในโลกแห่งการแข่งขันทางธุรกิจในยุคปัจจุบัน องค์กรจะต้องมีความสามารถในการตอบสนองความต้องการของลูกค้าทั้งในแง่คุณภาพ (Quality) ระยะเวลาในส่งมอบ (Time) และต้นทุน (Cost) กิจกรรมเพิ่มผลผลิต (Productivity Improvement) นับเป็นกลไกในการขับเคลื่อนที่สำคัญ ซึ่งเกี่ยวข้องกับพนักงานทุกระดับตั้งแต่ระดับบริหาร (Top Management) จนถึงระดับหน้างาน (Shop Floor) ผ่านกิจกรรมปรับปรุงงานต่าง ๆ โดยมีเป้าหมายสูงสุดคือ การตอบสนองความต้องการลูกค้าอันนำมาสู่ผลกำไรขององค์กร นักส่งเสริมกิจกรรมเพิ่มผลผลิต (Productivity Facilitator) ถือเป็นฟันเฟืองสำคัญในการดำเนินกิจกรรมเพิ่มผลผลิตโดยทำหน้าที่กระตุ้น
ในการดำเนินชีวิต การทำงาน หรือการทำกิจกรรมต่างๆ มักจะมีปัญหาบางอย่างเกิดขึ้นได้ทุกเมื่อโดยที่เราไม่ได้คาดคิด แม้ว่าเราจะคิดว่าได้เตรียม วิธี แก้ ปัญหา เอาไว้แล้วก็ตาม การพยายามป้องกัน หรือควบคุมไม่ให้เกิดปัญหา ก็เป็นสิ่งที่ควรทำ แต่ปัญหาก็เหมือนกับ “ฝน” ที่เราไม่รู้เลยว่าจะตกลงมาเมื่อไหร่ เวลาไหน แต่ถึงอย่างไร เราก็ยังสามารถสังเกตได้จากสิ่งรอบๆ ตัว และสัมผัสได้ว่า “ฝนกำลังจะตก” ปัญหาก็เป็นเช่นนั้น แม้จะเป็นสิ่งที่เราไม่รู้ว่ามันจะเกิดขึ้นเมื่อใด แต่เราก็สามารถสัมผัสได้จากการสังเกตจากสิ่งรอบๆ ตัว
แก้ปัญหาไม่ถูกจุด…เพราะไม่รู้ประเภทของปัญหา ปัญหาเป็นสิ่งที่ทุก ๆ คนต้องเผชิญ แต่หลายครั้งหลายหนที่หลายคนจับต้นชนปลายไม่ถูก แก้ปัญหาไม่ถูกจุด เพราะไม่รู้ประเภทของปัญหา หากเรามาจำแนกประเภทของปัญหา โดยใช้ตาราง Matrix ใน 2 มิติ คือ มิติของสาเหตุ แบ่งเป็น “รู้” กับ “ไม่รู้” มิติของมาตรการแก้ไข / มาตรการป้องกัน แบ่งเป็น “รู้” กับ