ความสำเร็จ…ส่วนหนึ่งย่อมมาจาก “การวัด” ที่ถูกต้อง Jame Harrington ได้กล่าวไว้ว่า KPIs (ดัชนีชี้วัดสำเร็จ) คือ เครื่องมือที่ใช้วัดผลการดำเนินงาน ประเมินผลการดำเนินงาน ในด้านต่าง ๆ ขององค์กรซึ่งสามารถแสดงในรูปของตัวเลข อัตราส่วน ร้อยละ เพื่อสะท้อนประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการทำงานขององค์กร หรือหน่วยงานต่าง ๆ ภายในองค์กร หลักการในการกำหนด KPIs หลักเหตุ และผล
Category: Management Frameworks and Tools
หากเราใช้ทักษะความคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) เขียนแผนภาพที่เชื่อมโยงให้เห็นในมิติมุมมองของ BSC (Balanced Scorecard) ก็จะเห็นความเชื่อมโยงระหว่าง มุมมองทางด้านการเงิน มุมมองทางด้านลูกค้า มุมมองทางด้านกระบวนการ มุมมองทางด้านการเรียนรู้ และการเติบโต ซึ่งจะมีลักษณะเป็นวงจรเสริมแรง (Reinforcing Loop) อย่างง่าย ๆ ที่มี 2 วงซ้อนกันอยู่ คือ วงจรที่นำผลกำไรไปลงทุนในคน วงจรที่นำผลกำไรไปลงทุนในเครื่องจักร นี่คือ
ผู้นำที่ดีต้องมีคุณลักษณะ “3H” อันได้แก่ Head – บริหารด้วยสมอง และความคิด Heart – บริหารด้วยใจ มีความเข้าอกเข้าใจ Hand – บริหารโดยประพฤติตนเป็นแบบอย่าง ไม่ใช่ชี้นิ้วสั่ง “นายเรียนรู้” อาจารย์บุญเลิศ คณาธนสาร วิทยากร และที่ปรึกษา A@LERT Learning and Consultant มือถือ
ในการบริหารจัดการสมัยใหม่ สิ่งที่องค์กรพยายามเฟ้นหาก็คือ กรอบการบริหารจัดการที่จะนำพาองค์กรไปสู่ความยั่งยืน จากการศึกษาวิจัยในบทความ “A Framework for Successful TQM Implementation and Its Effect on the Organizational Sustainability Development” ได้พบว่า การนำ TQM เข้ามาเป็นเครื่องมือในการบริหารองค์กร จะก่อให้เกิดปัจจัยที่จะเป็นรากฐานสำคัญในการขับเคลื่อนองค์กรไปสู่ความยั่งยืน ได้แก่ Top
เมื่อเริ่มต้นที่จะวิเคราะห์เรื่องใด สิ่งสำคัญเลย ก็คือ ทุกคนในทีมจะต้องมีความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันเสียก่อน การใช้คำพูดเพียงอย่างเดียวในการสื่อสาร ก็อาจจะทำให้ผู้ฟังเข้าใจคลาดเคลื่อนไปได้ เครื่องมืออย่างหนึ่งที่จะช่วยทำให้เราสื่อสารกันเข้าใจถูกต้องตรงกัน ก็คือ การเขียนออกมาเป็นแผนภาพความคิด (Thought Model) ซึ่งแผนภาพความคิดอาจจะมีรูปแบบที่แตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับประเด็นที่เราพูดคุยกันอยู่ เช่น เราอาจจะเลือกใช้ Ansoff Matrix ในการพูดคุยกันในกรณีที่เรากำลังคุยกันในเรื่องกลยุทธ์ด้านการตลาด เราอาจจะเลือกใช้ Five Force Analysis เมื่อเรากำลังวิเคราะห์ภาพการแข่งขันในอุตสาหกรรมที่เราอยู่ เราอาจจะเลือกใช้ Value
Five Force Analysis Michael E. Porter กูรูทางด้านกลยุทธ์การแข่งขัน ผู้เขียนหนังสือชื่อดัง “Competitive Advantage” ได้นำเสนอ Model ในการวิเคราะห์สภาพการแข่งขัน ว่าประกอบไปด้วย 5 ปัจจัยที่เป็นแรงกดดันต่อการแข่งขัน คือ 1. แรงกดดันจากการแข่งขันกับคู่แข่งขันในปัจจุบัน 2. แรงกดดันจากอำนาจต่อรองของลูกค้า (Customer) 3. แรงกดดันจากอำนาจต่อรองของผู้จำหน่าย (Supplier)
Time Management Matrix (The Eisenhower Matrix) ทรัพยากรอย่างหนึ่งที่ทุกคนมีเท่าเทียมกัน คือ เวลา ในแต่ละวันทุกคนจะมีเวลาเท่ากัน คือ 86,400 วินาที เราจะบริหารเวลาที่มีอยู่ทุกวินาที ให้มีประโยชน์สูงสุดได้อย่างไร Dwight D. Eisenhower อดีตประธานาธิบดีผู้มีชื่อเสียงคนหนึ่งของประเทศสหรัฐอเมริกา ได้คิดค้นวิธีการที่จะจัดการสะสางงานที่มีเข้ามาอย่างเป็นระบบ ด้วยการแบ่งประเภทของงานตาม ความเร่งด่วนของงาน(เร่งด่วน-ไม่เร่งด่วน) และความสำคัญของงาน (สำคัญ-ไม่สำคัญ) ก็จะสามารถจัดกลุ่มประเภทของงาน