(AI กับ งาน Recruitment) 5 สิ่งที่ AI ยังทำไม่ได้ในงาน Recruitment งาน recruitment มักดูเป็นงานซ้ำซาก และเทคโนโลยีที่ก้าวไกลอาจทำให้คนที่ดูแลเรื่องนี้รู้สึกหวั่นใจว่าวันหนึ่ง AI จะมาทำแทนคุณ เพื่อไม่ให้ตะหนกตกใจกันเกินไป วันนี้มาดูกันว่ามีส่วนไหนในการ recruitment ที่ AI ไปไม่ถึง หรืออีกนานกว่าจะไปถึง ซึ่งองค์กรก็เลยต้องพึ่งเราไปอีกนาน 1. การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สมัคร
Category: Trick for HR
15 เช็คลิสต์ สัญญาณแบบนี้ องค์กร มี ปัญหา คัดคน ! หากคุณเป็น HR, ผู้บริหาร หรือเจ้าของกิจการ ที่เหนื่อยกับเรื่อง “การสรรหาพนักงาน” รู้สึกการ Recruitment เป็นงานที่ไม่จบไม่สิ้น ทำเท่าไหร่ก็ไม่เสร็จ ยิ่งทำยิ่งเยอะ รับพนักงานใหม่มาไม่ทันไร เดี๋ยวก็ออกอีก แล้วก็ต้องหาใหม่วนกันไป จนเริ่มไม่แน่ใจว่าองค์กรของเรามีอะไรไม่ดีหรือเปล่า ทำไมพนักงานที่มาอยู่ใหม่ถึงมีปัญหา และไม่ทันข้ามปีก็ตีจากเราไป
จอนนี่ ไอฟฟ์ (Jony Ive) ชายผู้อยู่เบื้องหลังความสำเร็จของ iPhone จะมีกี่คนจะรู้ว่าเบื้องหลังความสำเร็จของรูปลักษณ์ iPhone ที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน เกิดจากพนักงานฝ่ายออกแบบผลิตภัณฑ์ (ผู้ที่เคยโดนไล่ออกจากบริษัทของตัวเองไปก่อนหน้านี้) ที่คิดจะลาออกจากบริษัท Apple แต่กลับเปลี่ยนใจอยู่ทำงานต่อเมื่อได้ยินข่าวการกลับมาของ สตีฟ จ็อบส์ พนักงานผู้อยู่เบื้องหลังคนนั้นคือ….. โจนาธาน ไอฟฟ์ หรือ จอนนี่ ไอฟฟ์ จอนนี่ ไอฟฟ์ คือผู้ที่เป็นหัวหอกของ
“คัดคนที่ใช่” ให้ไว ด้วย 3 คำถาม ทางโทรศัพท์! Trick for HR ความสำเร็จของธุรกิจ เริ่มต้นจากการคัดคนทำงานที่ใช่ แต่จะทำอย่างไร ให้ไม่เสียเวลาทั้งสองฝ่าย และพบคนที่ใช่อย่างรวดเร็ว ตอนที่แล้วผมเล่าเรื่องการปรับเปลี่ยนกระบวนการคัดเลือกทีมงานด้วยหลักการ ECRS คลิกที่นี่ เพื่อเข้าไปอ่านบทความได้เลยครับ ส่วนบทความนี้ อ.ทิพย์สุวรรณ ตั้งอมรสุขสันต์ หรือ อ.เพชร จะมาพูดถึงปัจจัยสำคัญ คือ
ความ ขัดแย้ง ในองค์กร เทคนิค 3 ช. แสดงความเห็น มัดใจเพื่อนร่วมงาน บ่อยครั้งใน การ ทํา งาน ร่วม กับ ผู้ อื่น ก็จะมีการแลกเปลี่ยนหรือ แสดงความคิดเห็น กับเพื่อนร่วมงาน ซึ่งจะมีทั้งคนที่คิดตรงหรือ “คิดต่าง” กับเรา ปัญหาคือ เราไม่รู้ว่าจะแสดงท่าที แสดงความคิดเห็นต่าง หรือมีปฏิกิริยาต่อความเห็นคนอื่นอย่างไรดี ซึ่งเรื่องของการแสดงความเห็นต่างนั้น
หา คน ทำงาน ยังไงให้ได้ดี ด้วย 10 คำถาม คัดคนที่ใช่ (Trick for HR) ความสำเร็จของธุรกิจ เริ่มต้นจากการคัดเลือกทีมงานที่ใช่ วันนี้อาจารย์ทิพย์สุวรรณ ตั้งอมรสุขสันต์ มีทริค หา คน ทำงาน ยังไงให้ได้ดี กับ “10 คำถาม คัดคนที่ใช่ ตรงใจ
พัฒนา Soft Skills อย่างมีประสิทธิภาพ ต้นทุนลด กำไรเพิ่ม! ทักษะที่จำเป็นในการทำงานนั้น สามารถจำแนกได้หลักๆ อยู่ 2 ประเภท Hard Skills ได้แก่ ทักษะที่คนทำงานจะต้องมีความรู้ความสามารถที่เกี่ยวข้องกับอาชีพที่เราทำอยู่ ซึ่งเป็นทักษะที่จะเพิ่มพูนความเชี่ยวชาญในอาชีพที่เราทำอยู่ Soft Skills ได้แก่ ทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานทั่วๆ ไป ไม่ได้เจาะจงไปที่อาชีพใดอาชีพหนึ่ง ซึ่งจะทำให้เรามีทักษะในการบริหารงาน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ล่าสุดทาง
เทคนิค พิชิต โบนัส… ใครที่เจ็บปวดกับ การประเมินผลงาน หรือ performance appraisal เมื่อตอนปลายปี และมาบาดเจ็บอีกทีตอน ปรับขึ้นเงินเดือน กับตอนได้ โบนัส ต้นปี ตอนนี้อาจจะกำลังคิดทบทวนว่าเราควรจากไปดีมั้ย หากมีเจ้านายแย่ๆ องค์กรงั้นๆ ที่ให้ผลตอบแทนกับความทุ่มเทของเราอย่างไม่ยุติธรรมเอาเสียเลย ไม่ว่าคุณจะตัดสินใจเปลี่ยนงานหรือทำงานที่เดิม สำหรับ เทคนิค พิชิต โบนัส ครั้งนี้ อยากนำเสนอมุมมองใหม่ๆ
ปฏิเสธไม่ได้ว่าทุกวันนี้คนเราใช้ชีวิตในออฟฟิศหรือที่ทำงานมากกว่าสถานที่อื่นใด จึงมีโอกาสสูงมากที่เราจะพบคนที่ถูกใจในที่ทำงาน พบ รัก ใน ออฟฟิศ ซึ่งก็นับเป็นเรื่องที่หมิ่นเหม่นิดหน่อย เพราะหากไม่นับเรื่องส่วนตัวที่กลัวว่าเลิกกันแล้วจะมองหน้ากันไม่ติด ยังมีเรื่องจริยธรรมการทำงานที่องค์กรควรคำนึงถึงอีก แต่ก่อนที่จะมาตอบว่า รัก ใน ออฟฟิศ ผิดตรงไหน? เรามาดูกันก่อนว่าการพบรักกันในที่ทำงานนั้นมีความเสี่ยงต่อองค์กรหรือบริษัทที่คู่รักทำงานอย่างไร ข้อครหาเรื่องความไม่ยุติธรรม ความรักเป็นเรื่องของความลำเอียงและเอาอกเอาใจอยู่แล้ว จึงอาจมีผลกระทบ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการมอบหมายงาน ประเมินผลงาน รวมถึงการให้คุณให้โทษอื่นๆ เสี่ยงต่อการปิดบังอำพรางการทุจริตภายในองค์กร คู่รักมักเห็นใจและสนับกันเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว จะเสี่ยงมาก หากเป็นการร่วมมือร่วมใจกันทำอะไรในทางที่ไม่ดี จากความเสี่ยงที่ว่ามา
บทความก่อนหน้านี้เล่าถึง 4 เหตุผลที่คนขัดแย้ง กันไปแล้ว ซึ่งก็เป็นสาเหตุที่เราพบได้ในชีวิตประจำวันทั่วๆ ไป โดยเริ่มจากการกระทบกระทั่งกันเล็กๆ น้อยๆ ในบทความนี้เราจึงมาแนะนำวิธี หลีก หนี ความ ขัดแย้ง หรือป้องกันความขัดแย้งที่จะลุกลามบานปลาย ด้วยหลักคิดง่าย 5 วิธี 1. ฟังเรื่องราวแบบไม่เคยรู้มาก่อน เริ่มจากการฟังโดยไม่อคติ ไม่ตีความสิ่งที่กำลังฟังอยู่ ไม่รีบเชื่อมโยงกับประสบการณ์ที่มี หรือแม้กระทั่งประเมินผู้พูดจากสิ่งที่เราเคยรู้ หรือเคยได้ยินมาเกี่ยวกับตัวเขา 2.