บันทึกเรื่องราว “ครูไม่กั๊ก ศิษย์รักทำ” เป็นเรื่องราวที่เขียนขึ้นจากประสบการณ์ที่ได้ติดตาม อ.ไชยยศ ปั้นสกุลไชย ไปทำหน้าที่ผู้ช่วยวิทยากร (Trainer Assistant) ในหลักสูตรต่าง ๆ ซึ่งเป็นเทคนิค ความรู้ เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย ที่ได้เรียนรู้โดยตรงผ่านประสบการณ์จริง (Experience Learning) ที่หลายเรื่อง อ.ไชยยศ ไม่สามารถถ่ายทอดได้หมดในหลักสูตร Innovative Trainer ที่เรียนในห้อง 5 วัน
Category: Blog
โลกในยุคปัจจุบัน คือ สังคมแห่งการเรียนรู้ (Knowledge Society) คนที่มีสามารถในการเรียนรู้ (Learning ability) ที่ดีจึงจะสามารถปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้ หากเปรียบเทียบ “หนังสือ คือ ประตูสู่โลกกว้าง” แล้วละก็ “google คงเปรียบเทียบได้กับ หน้าต่างมหัศจรรย์” ด้วยจำนวนข้อมูลมหาศาลที่ถาโถมเข้ามาดั่งคลื่นยักษ์สึนามิ ทำให้เกิดความสลับซับซ้อนในการเข้าถึงความจริงยากยิ่งขึ้น สิ่งสำคัญของนักเรียนรู้ที่ดี ก็คือ การมีหัวใจนักปราชญ์ (สุ-จิ-ปุ-ลิ) “สุ” ย่อมาจากคำว่า
บันทึกเรื่องราว “ครูไม่กั๊ก ศิษย์รักทำ” เป็นเรื่องราวที่เขียนขึ้นจากประสบการณ์ที่ได้ติดตาม อ.ไชยยศ ปั้นสกุลไชย ไปทำหน้าที่ผู้ช่วยวิทยากร (Trainer Assistant) ในหลักสูตรต่าง ๆ ซึ่งเป็นเทคนิค ความรู้ เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย ที่ได้เรียนรู้โดยตรงผ่านประสบการณ์จริง (Experience Learning) ที่หลายเรื่อง อ.ไชยยศ ไม่สามารถถ่ายทอดได้หมดในหลักสูตร Innovative Trainer ที่เรียนในห้อง 5 วัน
(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ 10/11/2556) ประเด็นร้อนแรงในสังคมขณะนี้คงหนีไม่พ้นเรื่อง พรบ.นิรโทษกรรม ซึ่งแน่นอนว่าหลายฝ่ายต่างเรียกร้องหาความยุติธรรม สิ่งที่อยากชวนคิดในวันนี้ คือ ความยุติธรรม คือ อะไร? ลองอ่านสถานการณ์ข้างล่างนี้ดูครับ ในโบกี้รถไฟขบวนหนึ่ง มีชาย 3 คนนั่งอยู่ด้วยกัน หนึ่งในสามคนนั้นเป็นนักธุรกิจที่มั่งคั่ง ส่วนอีกสองคนที่เหลือฐานะไม่ได้ร่ำรวยอะไร แต่มี Sandwich ติดตัวมาด้วย
วันเสาร์ที่ 07 มิ.ย. 2557 เป็นวันที่ 3 ที่ผมได้เข้าอบรมหลักสูตร “Innovative Trainer” กับ อ.ไชยยศ ปั้นสกุลไชย สิ่งที่อาจารย์ได้ให้การบ้านไว้ คือ การเขียน Lesson Plan สำหรับการสอน Skill Training ในเวลา 20 นาที เริ่มต้นอาจารย์ไชยยศ เน้นย้ำในเรื่องความสำคัญของ
บันทึกเรื่องราว “ครูไม่กั๊ก ศิษย์รักทำ” เป็นเรื่องราวที่เขียนขึ้นจากประสบการณ์ที่ได้ติดตาม อ.ไชยยศ ปั้นสกุลไชย ไปทำหน้าที่ผู้ช่วยวิทยากร (Trainer Assistant) ในหลักสูตรต่าง ๆ ซึ่งเป็นเทคนิค ความรู้ เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย ที่ได้เรียนรู้โดยตรงผ่านประสบการณ์จริง (Experience Learning) ที่หลายเรื่อง อ.ไชยยศ ไม่สามารถถ่ายทอดได้หมดในหลักสูตร Innovative Trainer ที่เรียนในห้อง 5 วัน
(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ 27/10/2556) “…อื่นๆ อีกมากมาย อีกมากมาย อีกมากมายที่ไม่รู้ อาจจะจริงเราเห็นอยู่ เผื่อใจไว้ ที่ยังไม่เห็น…” ท่อนฮุคของเพลง “อื่น ๆ อีกมากมาย” ของวงดนตรี “เฉลียง” สะท้อนให้เห็นถึงมุมมอง และทัศนคติในการมองโลกได้เป็นอย่างดี สิ่งที่เรารับรู้เป็นเพียงแค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น… เครื่องมือพื้นฐานด้านการคิดตัวหนึ่งที่จะช่วยให้เรามองสิ่งต่าง ๆ
(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ 20/10/2556) จากผลการสำรวจความคิดเห็นเนื่องในโอกาสวันเด็กแห่งชาติปี 2556 ที่ผ่านมา โดย “อาชีวะโพล” ที่ทำการสำรวจเด็ก ๆ จำนวน 1,214 คน ในหัวข้อที่ว่า “ของขวัญวันเด็กที่อยากได้ที่สุดในปีนี้ คือ อะไร?” คำตอบที่ได้ออกมาดังนี้ อันดับ 1 โทรศัพท์มือถือ
วันเสาร์ที่ 31 พ.ค. 2557 ผมได้เข้าอบรมหลักสูตร “Innovative Trainer” กับ อ.ไชยยศ ปั้นสกุลไชย เป็นวันที่ 2 ก็ได้ทำการบ้านที่อาจารย์มอบหมายในเรื่องการปรับแก้ Course Outline, เขียน Program Timetable และเตรียมการสอนไปเพื่อสอนในเวลา 15 นาที เริ่มต้น Class ด้วยกิจกรรม “หาคนทำงาน”
(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ 08/09/2556) เมื่อพูดถึงการบ้านสำหรับเด็กน้อยหลาย ๆ คนแล้ว อาจจะเปรียบเสมือนยาขมหม้อใหญ่ เมื่อเลิกเรียนมาเด็กส่วนใหญ่จะใช้เวลาไปกับการวิ่งเล่นกับเพื่อน ๆ ในหมู่บ้าน หรือนั่งดูการ์ตูน กว่าจะเริ่มทำการบ้านก็มืดค่ำดึกดื่น สำหรับสถานการณ์นี้ สิ่งหนึ่งที่พ่อแม่ ผู้ปกครอง ควรฝึกฝนให้กับน้อย คือ เครื่องมือพื้นฐานด้านการคิดตัวหนึ่งที่ชื่อว่า FIP (First Important