fbpx

โตขึ้นหนูอยากเป็นอะไร? “โตขึ้นหนูอยากเป็นอะไร?” ประโยคคำถามยอดฮิตประโยคหนึ่งที่ผู้ใหญ่มักชอบถามเด็ก และคำตอบที่ได้ก็จะเป็นอยากเป็นคุณหมอบ้าง อยากเป็นนางพยาบาลบ้าง อยากเป็นวิศวกรบ้าง อยากเป็นคุณครูบ้าง หรือในยุคสมัยนี้อาจจะเปลี่ยนไปแล้วว่าอยากเป็นนักร้องบ้าง อยากเป็นดาราบ้าง อยากเป็นนักแบดมินตันมือ 1 ของโลกบ้าง สิ่งสำคัญคงไม่ใช่คำตอบว่าอยากเป็นอะไร แท้ที่จริงแล้วความสำคัญอยู่ที่เป้าหมายที่แท้จริงว่ามีความชัดเจนเพียงใด ในหนังสือวรรณกรรมเยาวชนคลาสสิค เรื่อง “อลิซ ในดินแดนมหัศจรรย์ (Alice in Wonderland)” มีตอนหนึ่งที่อลิซ ออกเดินทางแล้วไปเจอกับแมวตัวหนึ่ง “คุณเหมียวเชสเชอร์จ๊ะ ช่วยบอกหน่อยสิ

Read More

ใครว่าเด็กน้อยคิดไม่เป็น เหตุเกิดที่โรงเรียนอนุบาลแห่งหนึ่ง คนขับรถตู้ : คุณพ่อรับน้องไอซ์กลับบ้านไปแล้วใช่ไหมครับ เพราะน้องไอซ์ไม่ได้อยู่ที่โรงเรียนแล้ว คุณพ่อ : เปล่านะครับ หลังจากที่ตามหากันวุ่นอยู่ซักพัก คนขับรถตู้ : คุณพ่อครับ เจอน้องไอซ์แล้วนะครับ คุณพ่อ : ขอบคุณครับ ในช่วงรับประทานอาหารเย็นที่บ้าน คุณพ่อจึงเริ่มบทสนทนากับน้องไอซ์ คุณพ่อ : น้องไอซ์ตอนเย็นหลังเลิกเรียนหนูไปไหนอ่ะลูก คนขับรถตู้ถึงหาหนูไม่เจอ น้องไอซ์ :

Read More

“ห้องแต่งผมไมเต้” โลกของหนังสือ คือ โลกแห่งจินตนาการ โลกที่จำลองสะท้อนให้เห็นความเป็นจริงในสังคม วรรณกรรมเยาวชนเป็นหนังสือประเภทหนึ่งที่เป็นจุดเริ่มต้นของคนหลาย ๆ คน ให้หลงใหลในการอ่านหนังสือ “ห้องแต่งผมไมเต้” ผลงานของ มารี-โอ๊ด มูรัย ที่ได้รับการแปลเป็นภาษาไทย โดย เย็นตา จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์สวนเงินมีมา เป็นวรรณกรรมเยาวชนเรื่องหนึ่ง ที่ผู้เขียนได้หยิบมาอ่านแล้ววางไม่ลง ต้องอ่านรวดเดียวจนจบ เรื่องราวที่ชวนติดตามของเด็กหนุ่มชั้น ม.3 “หลุยส์ เฟรีแยรส์”

Read More

ในช่วงต้นเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา ผู้เขียนได้รับเชิญจาก สถาบันการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ให้ไปแบ่งปันประสบการณ์การเป็นกระบวนกร (Facilitator) ให้กับชุมชนกระบวนกร ในงาน CoP#16 ที่มีอาจารย์เอกรัตน์ รวยรวย เป็นผู้ประสานงานในการกิจกรรมเรียนรู้ครั้งนี้ให้เกิดขึ้น ผู้เขียนได้เล่าประสบการณ์การเป็นกระบวนกร (Facilitator) ตั้งแต่สมัยที่มีโอกาสมาทำงานที่โรงเรียนดรุณสิกขาลัย เพื่อเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้แบบ Constructionism เพื่อนำไปปรับใช้ในโครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของพนักงาน ธุรกิจกระดาษและบรรจุภัณฑ์ เครือซิเมนต์ไทย หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า โครงการ C-Pulp

Read More

ในวันนี้จะขอแนะนำหนังสือน่าอ่านสำหรับคนที่สนใจเรื่องการศึกษา หนังสือนี้ชื่อว่า “How Learning Works: 7 Research-Based Principles for Smart Teaching” ซึ่งมีการแปลเป็นภาษาไทยในชื่อ “การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21: 7 หลักการสร้างนักเรียนรู้แห่งอนาคตใหม่” ความน่าสนใจของหนังสือเล่มนี้ คือ การตั้งคำถามกับปัญหาในเรื่องที่ส่งผลต่อความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยการทำวิจัยนับพันชิ้น เพื่อให้เข้าใจปัญหา เข้าใจที่มาที่ไป และได้สรุปออกมาเป็นหลักการ 7 ข้อ

Read More

(บทความนี้ตีพิมพ์ลงใน นสพ.กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันอาทิตย์ที่ 12 กรกฎาคม 2558) “ปัญหาทุกปัญหาย่อมมีทางออก” “ทางออกของปัญหา อันหมายถึง เส้นทางที่จะนำเราไปสู่สิ่งที่แตกต่างไปจากเดิม ซึ่งแน่นอนว่าสิ่งที่แตกต่างนั้นย่อมต้องดีกว่าเดิม” ในประสบการณ์ของผู้เขียนในการทำหน้าที่ “ที่ปรึกษา (Consultant)” ให้กับบริษัทต่าง ๆ ในเรื่องของการแก้ปัญหา พัฒนาปรับปรุงงานนั้น พบว่ามี “หลุมพราง” ที่มาคอยสกัดกั้นขวางเส้นทางสู่ “ทางออกของปัญหา” อยู่ด้วยกัน 2 หลุมพรางใหญ่

Read More

“ทักษะการคิด เพื่อแก้ปัญหา” “ครู ครู โจทย์เลขข้อนี้ทำอย่างไงค่ะ ?” เสียงเด็กผู้หญิงคนหนึ่งร้องเรียกขึ้น เด็กผู้หญิงคนนี้ เธอเป็นลูกสาวของเจ้าของอู่ซ่อมรถข้างร้านกาแฟของผู้เขียน มักจะแวะเวียนเข้ามานั่งที่ร้าน และคอยช่วยเหลืองานเล็ก ๆ น้อยตามที่เธอจะช่วยได้ เช่น เสิร์ฟน้ำ เก็บแก้ว เช็ดโต๊ะ ปัจจุบันเธอเรียนอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่โรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่ง “อ้าว ลองอ่านโจทย์ให้ฟังหน่อยซิ ว่าเขียนไว้อย่างไร” ผู้เขียนกล่าวตอบไป “รถยนต์คันหนึ่งราคา

Read More

Five Force Analysis Michael E. Porter กูรูทางด้านกลยุทธ์การแข่งขัน ผู้เขียนหนังสือชื่อดัง “Competitive Advantage” ได้นำเสนอ Model ในการวิเคราะห์สภาพการแข่งขัน ว่าประกอบไปด้วย 5 ปัจจัยที่เป็นแรงกดดันต่อการแข่งขัน คือ 1. แรงกดดันจากการแข่งขันกับคู่แข่งขันในปัจจุบัน 2. แรงกดดันจากอำนาจต่อรองของลูกค้า (Customer) 3. แรงกดดันจากอำนาจต่อรองของผู้จำหน่าย (Supplier)

Read More

Time Management Matrix (The Eisenhower Matrix) ทรัพยากรอย่างหนึ่งที่ทุกคนมีเท่าเทียมกัน คือ เวลา ในแต่ละวันทุกคนจะมีเวลาเท่ากัน คือ 86,400 วินาที เราจะบริหารเวลาที่มีอยู่ทุกวินาที ให้มีประโยชน์สูงสุดได้อย่างไร Dwight D. Eisenhower อดีตประธานาธิบดีผู้มีชื่อเสียงคนหนึ่งของประเทศสหรัฐอเมริกา ได้คิดค้นวิธีการที่จะจัดการสะสางงานที่มีเข้ามาอย่างเป็นระบบ ด้วยการแบ่งประเภทของงานตาม ความเร่งด่วนของงาน(เร่งด่วน-ไม่เร่งด่วน) และความสำคัญของงาน (สำคัญ-ไม่สำคัญ) ก็จะสามารถจัดกลุ่มประเภทของงาน

Read More

เมื่อวานนี้ (25 พ.ค. 58) บริษัท ไทยทีวี จำกัด ผู้ได้รับใบอนุญาตทีวีดิจิทัล ช่องข่าว “ไทยทีวี” และช่องเด็ก “โลก้า” ได้ตัดสินใจขอบอกเลิกใบอนุญาต และเลิกประกอบกิจการทีวีดิจิทัล ทั้ง 2 ช่อง โดยทางบริษัท ไทยทีวี จำกัด ได้ส่งหนังสือถึง กสทช. โดยระบุสาเหตุว่า หลังจากบริษัทได้รับใบอนุญาตทีวีดิจิทัล เมื่อวันที่

Read More