ในยุคสมัยที่การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว องค์กรต้องเผชิญกับความท้าทายรอบด้าน การจะอยู่รอดและเติบโตได้ จำเป็นต้องมีกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนองค์กร หนึ่งในกลไกนั้นคือ “Competency” หรือ “สมรรถนะ”
Category: HR Talk
Handling Toxic Situation At Work By Listening การถูกรับฟังนอกจากได้ระบายความอึดอัดแล้วยังช่วยให้เราเข้าใจอารมณ์ ความรู้สึกและความต้องการของตัวเอง รวมถึงเห็นภาพรวมของปัญหาได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ทำให้เราสามารถแก้ไขและรับมือกับปัญหาได้อย่างถูกต้อง ตรงจุดสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สนใจลงทะเบียนอบรม ติดต่อได้ที่ 098-763-3150 (มิลค์) 081-711-3466 (เพชร) LINE: @Lert
Growth Mindset คือ อะไร Growth Mindset หรือกรอบความคิดเติบโต เป็นแนวคิดเพื่อการพัฒนาตนเองมากว่า 10 ปีโดยเริ่มจาก Carl S. Dweck ศาสตราจารย์และนักวิจัยด้านบุคลิกภาพ จิตวิทยาสังคมและพัฒนาการของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดในอเมริกา โดยเขียนหนังสือชื่อ Mindset ซึ่งเป็นหนังสือติดอันดับขายดีในอเมริกามากกว่า 10 ปี โดยฉบับแปลภาษาไทยชื่อ Mindset
มนุษย์เราใช้เวลาในการทำงานไม่น้อยกว่า 6-8 ชั่วโมง/วัน ถ้าตลอดชีวิตคนเราทำงานอย่างน้อย 40 ปี เราต้องทำงานเป็นเวลา 87,600 ชม. กินเวลาประมาณ 3,650 วัน ซึ่งนับเป็นเวลาไม่น้อยเลยกับการใช้เวลาในการทำงาน ด้วยเหตุนี้มนุษย์เงินเดือนทั้งหลายย่อมปรารถนาที่จะได้ทำงานในองค์กรดีๆ นายจ้างหรือองค์กรไหนสามารถออกแบบที่ทำงานในฝันให้คนอยากทำงานย่อมได้เปรียบในการดึงคนเก่งๆ มาร่วมงาน รวมถึงรั้งคนเก่งๆ ในที่ทำงานให้อยู่ร่วมงานกันไปนานๆ การออกแบบที่ทำงานในฝันเพื่อดึงดูดพนักงานเก่งๆ ให้ร่วมงานกับองค์กรเป็นเรื่องที่ใครๆ ก็รู้ แต่เราจะออกแบบที่ทำงานอย่างไรให้ถูกใจคนทุกคน แล้วต้องใช้งบประมาณเท่าไหร่กันถึงจะเพียงพอกับการสร้างบรรยากาศการทำงานให้ตอบโจทย์คนทำงาน ซึ่งอาจเป็นข้อกังวลสำหรับองค์กรขนาดเล็กหรือองค์กรที่มีงบน้อย แต่หากคุณมี
บริหารงานอย่างไร ให้ถูกใจคนทุกวัย ก่อนเข้าเรื่องการบริหารอย่างไรให้ถูกใจคนทุกวัย ขอเริ่มจากการเข้าใจธรรมชาติของคนวัยต่างๆ โดยแบ่งคนออกเป็น Generations ตามยุคสมัยที่เกิดและเติบโต ซึ่งจะมีลักษณะเด่นของแต่ละ Generation แตกต่างกันดังนี้ Silent Generation รุ่นที่ต้องเผชิญกับสงครามโลก ชีวิตเริ่มต้นนับหนึ่งกับทุกสิ่งทุกอย่าง ก้มหน้าก้มตาทำงาน ยอมทำทุกอย่าง ขอมีเพียงบ้านสักหลังสำหรับครอบครัว และยึดมั่นทำตามกรอบแบบแผนประเพณี Baby Boomers รุ่นที่เกิดในช่วงทุนนิยมเบ่งบาน เศรษฐกิจเฟื่องฟู ต้องการความมั่นคงในการทำงาน อยากมีบ้านหลังใหญ่ อยากได้รถหรู
ในฐานะของนักพัฒนาทรัพยากรบุคคลซึ่งมีส่วนสำคัญอย่างมากต่อความก้าวหน้าทางธุรกิจและมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมให้พนักงานในองค์กรทุกคนมี Growth Mindset และสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ภายในองค์กร เพื่อให้ตอบโจทย์ของการเปลี่ยนแปลงของโลกในทุกวันนี้
ช่วงนี้ได้มีโอกาสฟังข่าวการเลิกจ้างพนักงานบริษัทที่คืนใบอนุญาต ผู้ประกอบการ TV Digital หลายๆ บริษัททยอยเลิกจ้างพนักงานมาตั้งแต่เดือนเมษายน เริ่มตั้งแต่แจ้งคืนใบอนุญาต ขณะที่หลายๆ บริษัทเลิกจ้างในวินาทีสุดท้าย ซึ่งแต่ละแบบมีข้อดีข้อเสียต่างกัน อย่างไรก็ตามเรื่องนี้สะท้อนให้เห็นว่า “การถูกเลิกจ้าง” ไม่ใช่เรื่องไกลตัวเราอีกต่อไป ในฐานะคนทำงาน HR ที่เกี่ยวข้องกับการเลิกจ้างพนักงาน ก็มีประสบการณ์ตรงที่อยากแชร์เพื่อให้ทุกคนตระหนักและเตรียมพร้อมรับมือกับการเลิกจ้างที่สามารถเกิดขึ้นได้กับพวกเราทุกคนสมัยที่เริ่มทำงาน HR ในบริษัทข้ามชาติ เหตุการณ์การเลิกจ้างเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นเป็นประจำ ช่วงเริ่มทำงานใหม่ๆ รู้สึกตกใจมากเมื่อทราบว่าบริษัทมีนโยบายเลิกจ้างพนักงาน แต่เจ้านายซึ่งเป็น HR Director อธิบายว่าเป็น
มีเสียงตอบรับที่ดีมากจากบทความ #งานHRคืองานMarketing วันนี้ เลยอยากเขียน How to เพิ่มอีกอีกหน่อย เพื่อเป็นแนวทางให้ลองเอาใช้ในที่ทำงานของตัวเอง จัดกิจกรรมที่สนุกสนานอย่างสม่ำเสมอ เช่น งานประกวดต่างๆ เล่นเกมชิงรางวัล เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน ตื่นเต้นในที่ทำงาน ขอย้ำว่าต้องเป็นกิจกรรมที่สนุก ทุกคนอยากเล่น ตั้งตารอคอย กิจกรรมเชยๆ หรือมีสาระจนเกินไปอาจจะแป๊ก ไม่มีใครยอมเล่นด้วย ใช้สื่อที่หลากหลาย เช่น คลิป, โปสเตอร์ ที่ดึงดูดใจ
หลายคนฟังชื่อแล้วอาจคิดว่าผู้เขียนกำลังสับสน งาน HR จะไปเหมือนกับงาน marketing ได้อย่างไร ทั้งที่งาน HR ออกจะไปในแนวงานแม่บ้าน คอยดูแลเอาใจใส่คนที่อยู่ในองค์กร แต่ในความเป็นจริง นั่นเป็นเพียงบทบาทด้านเดียวในเชิงตั้งรับ เป็นงานหลังบ้านของหลังบ้านอีกที (ฟังดูเหมือนกระโถน) แตกต่างจากงานเชิงรุกที่เน้นประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ ทำการตลาดกับพนักงานในบริษัทที่เรียกว่า Employee Branding ให้พนักงานและกลุ่มเป้าหมายที่จะเป็นพนักงานบริษัทรู้ว่าบริษัทเรามีสวัสดิการ กิจกรรม นโยบายที่บังคับใช้อย่างไร และบริษัทเราคู่ควรให้คนเก่งๆ อย่างพวกเขามาร่วมงานด้วยอย่างไร ทั้งหมดนี้เป็นบทบาทเชิงรุกของงาน HR ผ่านงานสื่อสารภายในองค์กร
ให้ Feedback ลูกน้อง อย่างไร…ไม่ให้ ‘ผิดใจ’ กัน ? คนส่วนใหญ่มักหนักใจเมื่อต้องให้ feedback คนอื่น โดยเฉพาะคนที่เป็นหัวหน้า วันนี้มีกรณีตัวอย่างของการให้ feedback ลูกน้องมาฝากค่ะ กรณีของ “ทินกฤต” ซึ่งเป็นผู้บริหารฝ่ายลูกค้ารายใหญ่มา 7 ปี ตัวเขาสามารถดูแลลูกค้าได้เป็นอย่างดี มีผลงานชัดเจนทำให้ก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ แต่เมื่อปีที่ผ่านมา บริษัทมีการประเมินศักยภาพผู้นำแบบ 360 องศา