สรุปสาระสำคัญจากหนังสือ “Ultimate Skills – ทักษะจำเป็นแห่งอนาคต” 20 ทักษะแห่งอนาคต ที่ไม่ใช่แค่ “มีก็ดี” แต่ “จำเป็นต้องมี”
Category: Coaching
สรุปสาระสำคัญจากหนังสือ “Ultimate Skills – ทักษะจำเป็นแห่งอนาคต” 20 ทักษะแห่งอนาคต ที่ไม่ใช่แค่ “มีก็ดี” แต่ “จำเป็นต้องมี”
สรุปสาระสำคัญจากหนังสือ “Ultimate Skills – ทักษะจำเป็นแห่งอนาคต” 20 ทักษะแห่งอนาคต ที่ไม่ใช่แค่ “มีก็ดี” แต่ “จำเป็นต้องมี”
สรุปสาระสำคัญจากหนังสือ “Ultimate Skills – ทักษะจำเป็นแห่งอนาคต” 20 ทักษะแห่งอนาคต ที่ไม่ใช่แค่ “มีก็ดี” แต่ “จำเป็นต้องมี”
ประสบการณ์กว่า 10 ปีในการบริหารร้าน House of Commons – BookCafe & Space (HOC) คอมมูนิตี้คาเฟ่เล็ก ๆ ที่มีหนังสือ และ งานเสวนา-Workshop เป็นสื่อกลางชักชวนให้คนจากหลายๆ ที่ได้เข้ามาพบปะพูดคุยรู้จักกัน ก่อเกิดเป็นกลุ่มก้อนมิตรภาพเล็กๆ ที่ให้ผลตอบแทนมากกว่ากำไรจากการซื้อขาย
“The Coaching Habit” เปลี่ยนการโค้ชให้เป็นเรื่องง่ายในชีวิตประจำวันด้วยคำถามเพียงไม่กี่คำถาม หลายคนที่สนใจการโค้ช อยากเป็นนักโค้ชมืออาชีพ หรืออยากนำวิธีการโค้ชไปใช้กับทีมงาน แต่อ่านหนังสือกี่เล่ม เรียนมากี่หลักสูตร ก็ยังติดขัด แถมใช้จริงก็ดูไม่เป็นธรรมชาติ ต้องไม่พลาดหนังสือเล่มนี้… (โค้ชชิ่ง แฮบิต ไมเคิล บันเกย์ สเตเนียร์ : เขียน วุฒินันท์ ชุมภู :
Facilitator หรือที่เราคุ้นหูกันในภาษาไทยคือ “กระบวนกร” ในขณะที่อีกหลายคนเรียกว่า นักอำนวยการเรียนรู้, นักไกล่เกลี่ย ฯลฯ และไม่ว่าจะมีชื่อเรียกใด Guru กล่าวถึงบทบาทของ “กระบวนกร” ว่าหมายถึง “ผู้ดำเนินกระบวนการเพื่อให้เกิดความง่ายต่อกลุ่มผู้มีส่วนร่วมเพื่อบรรลุข้อสรุปร่วมกันในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง (to make things easy for participants to conclude something together)”. กลุ่มผู้มีส่วนร่วมหรือกลุ่มผู้เกี่ยวข้องอาจหมายถึงสมาชิกในองค์กรเดียวกัน หรือผู้มีส่วนร่วมจากต่างองค์กร
ให้ Feedback ลูกน้อง อย่างไร…ไม่ให้ ‘ผิดใจ’ กัน ? คนส่วนใหญ่มักหนักใจเมื่อต้องให้ feedback คนอื่น โดยเฉพาะคนที่เป็นหัวหน้า วันนี้มีกรณีตัวอย่างของการให้ feedback ลูกน้องมาฝากค่ะ กรณีของ “ทินกฤต” ซึ่งเป็นผู้บริหารฝ่ายลูกค้ารายใหญ่มา 7 ปี ตัวเขาสามารถดูแลลูกค้าได้เป็นอย่างดี มีผลงานชัดเจนทำให้ก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ แต่เมื่อปีที่ผ่านมา บริษัทมีการประเมินศักยภาพผู้นำแบบ 360 องศา
ความ ขัดแย้ง ในองค์กร เทคนิค 3 ช. แสดงความเห็น มัดใจเพื่อนร่วมงาน บ่อยครั้งใน การ ทํา งาน ร่วม กับ ผู้ อื่น ก็จะมีการแลกเปลี่ยนหรือ แสดงความคิดเห็น กับเพื่อนร่วมงาน ซึ่งจะมีทั้งคนที่คิดตรงหรือ “คิดต่าง” กับเรา ปัญหาคือ เราไม่รู้ว่าจะแสดงท่าที แสดงความคิดเห็นต่าง หรือมีปฏิกิริยาต่อความเห็นคนอื่นอย่างไรดี ซึ่งเรื่องของการแสดงความเห็นต่างนั้น
การ สื่อสาร ภายใน องค์กร “4 เหตุผล” ที่คนไม่อยากคุยกับเรา หลายต่อหลายครั้งการที่คนส่วนใหญ่มักไม่อยากคุยกับเรา อาจเกิดจากการตัวเราเองที่แสดงพฤติกรรมการฟังที่ไม่ดีออกไป ทำให้คู่สนทนารู้สึกว่าเราไม่ตั้งใจฟัง ทำให้เขาไม่อยากสนทนากับเราต่อ มาดูกันว่าพฤติกรรมอะไรที่ทำให้เราเป็นคนที่ไม่น่าสนทนาด้วย 1. แสร้งทำเป็นฟัง เช่น ทำงานหรือเล่นโทรศัพท์มือถือในระหว่างการสนทนา ซึ่งเราควรจะแสดงภาษากายที่ชัดเจนในการฟังที่ดี คือ วางงาน วางมือถือ แล้วฟังคนที่อยู่ตรงหน้าเรา 2. ชอบพูดแทรก ชอบพูดแทรกหรือขอหยุดการสนทนาในขณะที่คู่สนทนากำลังพูด