สรุปสาระสำคัญจากหนังสือ “Ultimate Skills – ทักษะจำเป็นแห่งอนาคต” 20 ทักษะแห่งอนาคต ที่ไม่ใช่แค่ “มีก็ดี” แต่ “จำเป็นต้องมี”
Category: Book review
สรุปสาระสำคัญจากหนังสือ “Ultimate Skills – ทักษะจำเป็นแห่งอนาคต” 20 ทักษะแห่งอนาคต ที่ไม่ใช่แค่ “มีก็ดี” แต่ “จำเป็นต้องมี”
สรุปสาระสำคัญจากหนังสือ “Ultimate Skills – ทักษะจำเป็นแห่งอนาคต” 20 ทักษะแห่งอนาคต ที่ไม่ใช่แค่ “มีก็ดี” แต่ “จำเป็นต้องมี”
สรุปสาระสำคัญจากหนังสือ “Ultimate Skills – ทักษะจำเป็นแห่งอนาคต” 20 ทักษะแห่งอนาคต ที่ไม่ใช่แค่ “มีก็ดี” แต่ “จำเป็นต้องมี”
ปล่อย – OSHO : พลังแห่งการให้อภัยซ่อนอยู่ในความโกรธ การสำนึกผิด หมายถึง การตระหนักรู้ย้อนหลัง การสำนึกผิด หมายถึง การมองย้อนกลับไป การสำนึกผิดที่แท้จริง คือ การจดจำ การเข้าสู่รายละเอียดโดยตระหนักรู้ อย่างสมบูรณ์ถึงสิ่งที่เกิดขึ้น การสำนึกผิด คือ ? การสำนึกผิดหมายถึงการตระหนักรู้ย้อนหลัง การสำนึกผิดหมายถึงการมองย้อนกลับไป ท่านพลาดความตระหนักรู้ในชั่วขณะนั้น ท่านเต็มไปด้วยความไม่รู้ตัว ตอนนี้เรื่องราวสงบลงแล้ว ท่านสามารถนำความตระหนักรู้
ทบทวนการใช้ชีวิต ระหว่างท่องเที่ยวไปกับรถด่วนขบวนปรัชญา การใช้ชีวิตของเราแต่ละคน แต่ละวันนั้น น้อยคนที่จะตั้งคำถามกับตัวเองว่าเราตื่นมาทำไม เรามองสิ่งต่าง ๆ รอบตัวอย่างไร ทำไมความคิดปิ๊งแว๊บต่าง ๆ ผุดขึ้นมาระหว่างเราก้าวเดิน เราใส่ใจฟังคนอื่นมากน้อยเพียงไร เราใช้ชีวิตอย่างไรในแต่ละวัน เราละเลยดอกไม้เล็กๆริมทางหรือเปล่า แก่ตัวไปเราจะเป็นอย่างไร และเราจะเผชิญหน้ากับความตายอย่างไร เอริก ไวเนอร์ นักข่าว นักเขียน นักคิด และนักเดินทางเชิงปรัชญา รับหน้าที่อาสาเป็นไกด์นำทางบนเส้นทางรถไฟสายปรัชญา ที่ค่อย ๆ
I Hear You : ในบางเวลา เราแค่ต้องการใครสักคนที่รับฟัง และรับรองความรู้สึกของเรา ผมได้พลิกอ่านหนังสือเล่มเล็ก ๆ เล่มหนึ่ง “I Hear You, ฟังด้วยหู-ใจ: เปลี่ยนวิธีฟังเพียงนิด พิชิตทุกความสัมพันธ์” ด้วยความตั้งใจที่จะพัฒนาทักษะการฟังของตนเองให้ดีขึ้น ด้วยความเป็นคนใจร้อน โมโหง่าย ไม่ค่อยฟังใคร แต่หนังสือเล่มนี้ก็ได้เชื้อชวนผมให้มาทำความเข้าใจในการรับรองความรู้สึกตนเอง ว่าในขณะนั้นเรามีความรู้สึกอย่างไร ผู้คนที่เข้ามาหาเรา มาเล่าเรื่องต่าง ๆ
“เมื่อโลกซึมเศร้า” เกี่ยวกันยังไงกับ “โรคซึมเศร้า” อาจารย์สรวิศ ชัยนาม ได้นำข้อเขียนของ Mark Fisher มาชวนคุณคิดว่า แท้ที่จริงแล้วโรคซึมเศร้าเป็นแค่เรื่องระดับปัจเจกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับภาวะทางจิตใจ หรือภาวะทางร่างกายที่สารเคมีในสมองเสียสมดุล แค่นั้นจริงหรือ? แท้จริงแล้วกำลังเกิดอะไรขึ้นกับโลกใบนี้ เหตุใดมีคนจำนวนไม่น้อยที่ตกอยู่ในภาวะซึมเศร้า ท้อแท้ สิ้นหวังในชีวิต ไม่เห็นคุณค่าในตัวเอง ในยุคปัจจุบันที่เรียกว่า “โลกสัจจนิยมแบบทุน (Capitalist Realism)” ที่ทุกอย่างในระบบอยู่ภายใต้ระบบทุน คนส่วนใหญ่ต้องใช้เวลาในชีวิตไม่น้อยกว่า 1 ใน
เต๋า – มรรควิถีที่ไร้เส้นทาง OSHO เส้นทางแห่งการแสวงหา “…แน่นอนอิสรภาพนั้นเป็นสิ่งอันตราย มันทำให้ท่านรู้สึกไม่มั่นคง ไม่ปลอดภัย ท่านอาจจะรู้สึกปลอดภัยกว่าถ้าได้เดินตามฝูงชน ฝูงชนจะช่วยปกป้องท่าน ท่านรู้สึกปลอดภัยเมื่อท่านทำตามฝูงชน เพราะว่าการปรากฎตัวของคนหมู่มากทำให้ท่านรู้สึกว่าท่านไม่ได้อยู่ตามลำพัง และท่านไม่หลงทางอย่างแน่นอน ความมั่นคงที่ว่านี้แท้จริงแล้วมันได้ทำให้ท่านหลงทางไปแล้ว เพราะความมั่นคงทำให้ท่านไม่ต้องคิดจะค้นหา เมื่อท่านไม่ค้นหา ท่านก็ไม่เคยคิดจะถามหา และความจริงก็เลยไม่มาปรากฏ เว้นเสียแต่ว่าท่านจะถามหา เว้นเสียแต่ว่าท่านจะถามหาด้วยตัวของท่านเอง หากท่านเอาแต่หยิบยืมความจริงของคนอื่นมาใช้ ท่านก็ได้ชื่อว่าเป็นผู้ทรงความรู้ แต่การเป็นผู้ทรงความรู้นั้นมิใช่การรู้ที่เป็นของท่านเอง…” คนที่ทวนกระแส,คนที่ตอบโต้ และคนส่วนใหญ่
“The Coaching Habit” เปลี่ยนการโค้ชให้เป็นเรื่องง่ายในชีวิตประจำวันด้วยคำถามเพียงไม่กี่คำถาม หลายคนที่สนใจการโค้ช อยากเป็นนักโค้ชมืออาชีพ หรืออยากนำวิธีการโค้ชไปใช้กับทีมงาน แต่อ่านหนังสือกี่เล่ม เรียนมากี่หลักสูตร ก็ยังติดขัด แถมใช้จริงก็ดูไม่เป็นธรรมชาติ ต้องไม่พลาดหนังสือเล่มนี้… (โค้ชชิ่ง แฮบิต ไมเคิล บันเกย์ สเตเนียร์ : เขียน วุฒินันท์ ชุมภู :