fbpx

ใครว่าเด็กน้อยคิดไม่เป็น เหตุเกิดที่โรงเรียนอนุบาลแห่งหนึ่ง คนขับรถตู้ : คุณพ่อรับน้องไอซ์กลับบ้านไปแล้วใช่ไหมครับ เพราะน้องไอซ์ไม่ได้อยู่ที่โรงเรียนแล้ว คุณพ่อ : เปล่านะครับ หลังจากที่ตามหากันวุ่นอยู่ซักพัก คนขับรถตู้ : คุณพ่อครับ เจอน้องไอซ์แล้วนะครับ คุณพ่อ : ขอบคุณครับ ในช่วงรับประทานอาหารเย็นที่บ้าน คุณพ่อจึงเริ่มบทสนทนากับน้องไอซ์ คุณพ่อ : น้องไอซ์ตอนเย็นหลังเลิกเรียนหนูไปไหนอ่ะลูก คนขับรถตู้ถึงหาหนูไม่เจอ น้องไอซ์ :

Read More

(บทความนี้ตีพิมพ์ลงใน นสพ.กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันอาทิตย์ที่ 12 กรกฎาคม 2558) “ปัญหาทุกปัญหาย่อมมีทางออก” “ทางออกของปัญหา อันหมายถึง เส้นทางที่จะนำเราไปสู่สิ่งที่แตกต่างไปจากเดิม ซึ่งแน่นอนว่าสิ่งที่แตกต่างนั้นย่อมต้องดีกว่าเดิม” ในประสบการณ์ของผู้เขียนในการทำหน้าที่ “ที่ปรึกษา (Consultant)” ให้กับบริษัทต่าง ๆ ในเรื่องของการแก้ปัญหา พัฒนาปรับปรุงงานนั้น พบว่ามี “หลุมพราง” ที่มาคอยสกัดกั้นขวางเส้นทางสู่ “ทางออกของปัญหา” อยู่ด้วยกัน 2 หลุมพรางใหญ่

Read More

“ทักษะการคิด เพื่อแก้ปัญหา” “ครู ครู โจทย์เลขข้อนี้ทำอย่างไงค่ะ ?” เสียงเด็กผู้หญิงคนหนึ่งร้องเรียกขึ้น เด็กผู้หญิงคนนี้ เธอเป็นลูกสาวของเจ้าของอู่ซ่อมรถข้างร้านกาแฟของผู้เขียน มักจะแวะเวียนเข้ามานั่งที่ร้าน และคอยช่วยเหลืองานเล็ก ๆ น้อยตามที่เธอจะช่วยได้ เช่น เสิร์ฟน้ำ เก็บแก้ว เช็ดโต๊ะ ปัจจุบันเธอเรียนอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่โรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่ง “อ้าว ลองอ่านโจทย์ให้ฟังหน่อยซิ ว่าเขียนไว้อย่างไร” ผู้เขียนกล่าวตอบไป “รถยนต์คันหนึ่งราคา

Read More

เมื่อวานนี้ (25 พ.ค. 58) บริษัท ไทยทีวี จำกัด ผู้ได้รับใบอนุญาตทีวีดิจิทัล ช่องข่าว “ไทยทีวี” และช่องเด็ก “โลก้า” ได้ตัดสินใจขอบอกเลิกใบอนุญาต และเลิกประกอบกิจการทีวีดิจิทัล ทั้ง 2 ช่อง โดยทางบริษัท ไทยทีวี จำกัด ได้ส่งหนังสือถึง กสทช. โดยระบุสาเหตุว่า หลังจากบริษัทได้รับใบอนุญาตทีวีดิจิทัล เมื่อวันที่

Read More

แน่ใจแล้วหรือ ที่ตัดสินใจอย่างนั้น…? photo credit: http://www.flickr.com/photos/8136122@N06/3886848645 ในชีวิตของคนเราย่อมมีปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ให้ตัดสินใจอยู่ตลอดเวลา แต่ละคนก็มีเรื่องเล็กเรื่องใหญ่แตกต่างกันไปที่ต้องให้ตัดสินใจ ขึ้นอยู่กับบทบาทที่แตกต่างกันไปทั้งในเรื่องส่วนตัว เรื่องในครอบครัว เรื่องในที่ทำงานและเรื่องในสังคม การตัดสินใจที่เป็นเรื่องส่วนตัว ค่อนข้างง่ายเมื่อเปรียบเทียบกับการตัดสินใจร่วมกับคนอื่น เพราะจะมีอิทธิพลของคนรอบข้างเข้ามากดดันต่อการตัดสินใจค่อนข้างน้อย กระบวนการตัดสินใจแบบกลุ่มที่ดี จะต้องประกอบด้วยปัจจัยสำคัญ 3 ประการ 1. “Free” – เป็นอิสระจากแรงกดดันจากคนรอบข้าง 2. “Prior”

Read More

ในงาน Give&Take ครั้งล่าสุดที่ผ่านมา เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2558 อาจารย์ธงชัย โรจน์กังสดาล จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้แบ่งปันความรู้ในหัวข้อ กฎสามข้อในการสร้างนิสัยใหม่อย่างต่อเนื่อง ซึ่งอาจารย์ธงชัย ได้สรุปเป็นหลักการไว้ดังนี้ “1. Single: เราควรสร้างนิสัยทีละอย่าง อย่าสร้างนิสัยหลายอย่างพร้อมๆ กัน ควรทำนิสัย 1 อย่างให้ต่อเนื่องจนเป็นอัตโนมัติ แล้วจึงเริ่มสร้างนิสัยใหม่ และควรมีแรงจูงใจมากพอในการสร้างนิสัย

Read More

ในการดำเนินชีวิตประจำวันของทุกคน ล้วนรายรอบไปด้วยข้อมูลข่าวสาร ทั้งจากการสนทนากับคนรอบข้าง ทั้งจากการประชุมต่าง ๆ นานาและจากการรับรู้ผ่านทางสื่อหลากหลายช่องทาง ไม่ว่าจะเป็นโทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ และ Internet สิ่งสำคัญ คือ เราจะเลือกรับฟังเพื่อคัดกรองข้อมูล (Data) ที่ถาโถมเข้ามาอย่างไร เพื่อให้ได้แก่นประเด็นสำคัญ (Key Issues) ของเรื่องราวนั้น ๆ การรับฟังที่ดีนั้น ผู้รับฟังข่าวสาร อย่าทำตัวเป็น “Passive

Read More

“หมอกจาง ๆ และควัน คล้ายกันจนบางทีไม่อาจรู้…” บทเพลงยอดฮิตของนักร้องชื่อดัง พี่เบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย์ สะท้อนให้เห็นภาพที่เกิดขึ้นได้อย่างดีในกรณีหมอกควันจากการเผาป่าในภาคเหนือตอนบน โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เกิดขึ้นในจังหวัดเชียงใหม่ มีการออกมาให้ข่าวว่าสาเหตุของการเผาป่านั้น เกิดจากความต้องการในการเผาเอา “เห็ดถอบและผักหวาน” ซึ่งเป็นผลผลิตทางการเกษตรที่มีมูลค่าสูง ซึ่งคงเป็นสาเหตุเล็ก ๆ เพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น ต้องยอมรับกันว่าสาเหตุใหญ่ประการสำตัญ ก็คือ การเผาป่าเพื่อปลูกพืชไร่ “ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์” ซึ่งมีการเร่งขยายพื้นที่การปลูกกันอย่างมากในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ตามความเติบโดของอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ในประเทศไทย ชาวบ้านต้องเร่งเก็บเกี่ยว และเตรียมแปลงให้พร้อมในการปลูกรอบถัดไปให้เร็วที่สุด

Read More

“…เพราะเธอนั่นไง คือ เหตุผลที่ทำให้ฉันเชียน เป็นเพราะเธอส่ง ส่งใจมามาให้กัน แทนกระดาษดินสอ ด้วยรักที่คงมั่น ให้ฉันเขียนเป็นถ้อยคำถึงเธอ…” คือ เนื้อเพลงท่อนหนึ่งของเพลง “เขียนให้เธอ” ผลงานของ พี่จิก-ประภาส ชลศรานนท์ เป็นเหตุผลส่วนหนึ่งที่ผู้เขียนนึกถึง เวลาที่มีคนรู้จักมาถามว่า “เขียนหนังสือไปเพื่ออะไร…?” ผู้เขียนก็มักจะเล่าถึงความปลื้มใจเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่ตัวเองก็มีแฟนคลับที่คอยติดตามงานอย่างสม่ำเสมอ บางคนก็เขียน E-mail มาพูดคุยด้วย

Read More

สัปดาห์ที่ผ่านมาผู้เขียนได้มีโอกาสเจอกับคนหนุ่มสาวรุ่นใหม่สองคน คือ “ครูบริ๊งค์” – อติเวทย์ ตั้งอมรสุขสันต์ และ “น้องนิดหน่อย” – สิริรัตน์ รองเดช ที่มีความมุ่งมั่นอยากเปลี่ยนแปลงในเรื่องความเหลื่อมล้ำทางด้านการศึกษาของประเทศไทย โดยคิดโครงการชื่อว่า “เติมเต็ม” น้องสองคนเล่าให้ผู้เขียนฟังว่า จากการสำรวจรายได้ของคนไทย พบว่าคนที่มีฐานะดีในประเทศนั้นมีน้อยกว่าคนฐานะไม่ค่อยดี ส่วนหนึ่งที่เกิดความเหลื่อมล้ำทางด้านรายได้นั้น เกิดจากโอกาสทางการศึกษาที่แตกต่างกัน คนที่มีฐานะที่ดีกว่า สามารถมีเงินไปลงเรียนกวดวิชา ทำให้ได้ความรู้ที่ดีกว่า สามารถทำคะแนนสอบได้ดี ทำให้มีโอกาสศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย และคณะที่มีชื่อเสียงที่ใฝ่ฝัน

Read More