“ปัญหา คือ อะไร ?” “อะไร คือ ปัญหา ?” คือ คำถามที่คิดว่าหลาย ๆ คนคงเคยโดนตั้งคำถาม หรือเคยตั้งคำถามนี้กับตัวเอง เวลาที่ประสบพบเจอกับสิ่งที่คิดว่าเป็นปัญหาซึ่งมีทั้งเรื่องส่วนตัว และเรื่องงาน คำตอบที่มักได้ยินจากการตั้งคำถาม “ปัญหา คือ อะไร ?” “อะไร คือ ปัญหา ?” มักจะเป็น
Author: นายเรียนรู้

หากพูดถึงการทำ CSR ในภาคธุรกิจ ส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นกันไปทำในเรื่อง CSR After Process เช่น ทำบุญ ให้ทุน ปลูกป่า ทอดกฐิน แจกผ้าห่ม ฯลฯ มีธุรกิจน้อยรายที่เริ่มหันมาให้ความใส่ใจเรื่อง CSR ในเชิงกลยุทธ์ ความรับผิดชอบต่อสังคมเชิงกลยุทธ์ (Strategic CSR) หมายถึง การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรแบบ “เชิงรุก” โดยองค์กรจะยกระดับจากการเป็นเพียงบริษัทที่สามารถปฏิบัติได้ตามมาตรฐานข้อกำหนดต่าง ๆ

Sustainable Development Goals คือ “เป่าหมายโลก” ที่องค์การสหประชาชาติให้ทุกประเทศรับไปเป็นกรอบในการพัฒนา ซึ่งเป้าหมายทั้ง 17 ข้อ จะถูกใช้เป็น “จริยธรรมสากล” กำกับทิศทางการพัฒนาโลก ระหว่างปี 2558 ถึง 2573 แม้ว่ากลุ่มเป้าหมายหลักจะเป็นรัฐบาล แต่จริง ๆ แล้วภาคธุรกิจมีส่วนสำคัญอย่างมากในการทำให้เป้าหมายต่าง ๆ บรรลุผล เป้าหมายทั้ง 17 ข้อ

หากจะชี้ให้เห็นความสำคัญของ KPIs ประการหนึ่ง ก็คือ เป็นดัชนีชี้วัดให้เราเห็นว่า เราสามารถที่จะบรรลุ Goal ที่ตั้งไว้ได้หรือไม่ ? ดังนั้น KPIs จะไม่มีความสำคัญใด ๆ เลย หาก Goal ของเราไม่ชัดเจน จากงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด โดยการทำแบบสำรวจ 600 ฉบับ ได้ข้อสรุปว่า คนที่ไม่มี Goal ที่ชัดเจน

ความสำเร็จ…ส่วนหนึ่งย่อมมาจาก “การวัด” ที่ถูกต้อง Jame Harrington ได้กล่าวไว้ว่า KPIs (ดัชนีชี้วัดสำเร็จ) คือ เครื่องมือที่ใช้วัดผลการดำเนินงาน ประเมินผลการดำเนินงาน ในด้านต่าง ๆ ขององค์กรซึ่งสามารถแสดงในรูปของตัวเลข อัตราส่วน ร้อยละ เพื่อสะท้อนประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการทำงานขององค์กร หรือหน่วยงานต่าง ๆ ภายในองค์กร หลักการในการกำหนด KPIs หลักเหตุ และผล

หากเราใช้ทักษะความคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) เขียนแผนภาพที่เชื่อมโยงให้เห็นในมิติมุมมองของ BSC (Balanced Scorecard) ก็จะเห็นความเชื่อมโยงระหว่าง มุมมองทางด้านการเงิน มุมมองทางด้านลูกค้า มุมมองทางด้านกระบวนการ มุมมองทางด้านการเรียนรู้ และการเติบโต ซึ่งจะมีลักษณะเป็นวงจรเสริมแรง (Reinforcing Loop) อย่างง่าย ๆ ที่มี 2 วงซ้อนกันอยู่ คือ วงจรที่นำผลกำไรไปลงทุนในคน วงจรที่นำผลกำไรไปลงทุนในเครื่องจักร นี่คือ

สิ่งที่จะทำให้เราสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองได้อย่างดีนั้น คือ การเข้าใจตัวตนของตัวเอง และการเข้าใจจุดแข็งของตนเอง หลักสูตร “ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น…เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่” คือ หนึ่งในหลักสูตรที่ผมได้พัฒนาขึ้นมา โดยนำศาสตร์ความรู้ในเรื่อง Enneagram มาผสมผสานกับเนื้อหาในหนังสือ “เจาะจุดแข็ง” (StrengthsFinder) กับหนังสือ “สร้างจุดเด่น เน้นจุดแกร่ง” (StandOut) ผมกลับมานั่งทบทวนเนื้อหาในหลักสูตรนี้อีกครั้ง เมื่อได้เรียนรู้แนวการฝึกอบรมสไตล์ Training and Group Coaching (T&GC) เพื่อให้ตัวเองสามารถเป็นกระจกสะท้อนที่ใสให้กับผู้เรียนจะสามารถ

ผู้นำที่ดีต้องมีคุณลักษณะ “3H” อันได้แก่ Head – บริหารด้วยสมอง และความคิด Heart – บริหารด้วยใจ มีความเข้าอกเข้าใจ Hand – บริหารโดยประพฤติตนเป็นแบบอย่าง ไม่ใช่ชี้นิ้วสั่ง “นายเรียนรู้” อาจารย์บุญเลิศ คณาธนสาร วิทยากร และที่ปรึกษา A@LERT Learning and Consultant มือถือ

รากที่สอง พอเอ่ยถึงคำ ๆ นี้ คงเป็นที่ขยาดของใครต่อใครหลาย ๆ คน แต่แท้ที่จริงรากที่สอง ไม่ใช่เรื่องที่เข้าใจยากเลย หากเราเข้าใจที่มาของมัน “รากที่สอง” มาจากคำว่า “Square root” ในภาษาอังกฤษ “Square” หมายถึง สี่เหลี่ยมจัตุรัส “Root” หมายถึง ราก ต้นตอ ดังนั้นจึงน่าจะเกี่ยวข้องกับ ต้นตอของสี่เหลี่ยมจัตุรัส ง่าย

ว่ากันต่อด้วยไอเดียการทำโครงการ “โรงเรียนนักคิด” วันนี้ได้มีโอกาสคุยกับอาจารย์ท่านหนึ่งที่สนใจในโครงการนี้ ซึ่งสนใจอยากให้ไปจัดอบรมให้กับอาจารย์อาชีวะที่อยู่ในกลุ่มเครือข่ายทั่วประเทศกว่า 400 วิทยาลัย เป็นโจทย์ที่ต้องขบคิดกันต่อไปว่าจะไปสร้างความร่วมมืออย่างไรในระดับ Cluster ระหว่างภาครัฐ กับภาคเอกชนที่เป็นผู้ประกอบการในท้องถิ่นนั้น ที่จะมาร่วมขับเคลื่อนโครงการ “โรงเรียนนักคิด” ให้เกิดขึ้น ดูรายละเอียดหลักสูตร “Analytical and Systematic Thinking” สนใจฝึกอบรมติดต่อ A@LERT Learning and Consultant คุณชลมารค (มิลค์)